Page 51 - kpiebook63021
P. 51
จากผลการสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะข้างต้นนี้ ได้ชี้ให้เห นความสัมพัน ์ระหว่างภูมิภาคกับ
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะอย่างมีนัยสำคั พบว่า ภาคตะวันออกและภาคกลางมีความพร้อมในการพัฒนา
รายงานสถานการณ์ เมืองอัจฉริยะโดดเด่นมากกว่าภูมิภาคอื่น อีกทั้งเมื่อพิจารณามิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในทุกภูมิภาค
จะพบว่า มิติเมืองอัจฉริยะด้านการบริหารจัดการภาครัฐมีความโดดเด่นมากกว่ามิติอื่น ขณะที่ในทาง
ตรงกันข้ามพบว่า มิติเมืองอัจฉริยะด้านการคมนาคม ด้านพลังงาน และด้านการศ กษา กลับเป นมิติ
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะในแต่ละภูมิภาคที่มีความโดดเด่นอยู่ลำดับท้าย ของการพัฒนา
4.2 ข้อสังเกตการพัฒนาเม องอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปัจจุบันนี้ทิศทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย มีความพร้อม
ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ โดยมีช่วงคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 40.44 อีกทั้งยังพบว่า
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการบริหารจัดการภาครัฐ S a t t ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นนั้น เป นมิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่มีความโดดเด่นมากที่สุด โดยมีความพร้อมอยู่ในระดับ
ปานกลางค่อนข้างสูง มีช่วงคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 58.05 ขณะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี
ความพร้อมรองลงมา หรือกล่าวคือ มีความพร้อมของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับปานกลางนั้นมีอยู่
3 ด้านด้วยกัน ได้แก่ เมืองอัจฉริยะด้านคุณภาพชีวิตสังคมและชุมชน S a t i i , เมืองอัจฉริยะ
ด้านเศรษฐกิจ S a t c , และเมืองอัจฉริยะด้านสุขภาพ S a t a thca โดยทั้ง 3 ด้านนี้
มีช่วงคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 54.83, 46.54 และ 46.46 ตามลำดับ
ในทางตรงกันข้ามผลสำรวจก ได้ชี้ให้เห นว่า มิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่มีความโดดเด่นน้อยที่สุด
หรือมีความพร้อมอยู่ในระดับน้อยนั้นมี 2 ด้าน ได้แก่ เมืองอัจฉริยะด้านคมนาคม S a t i it
มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด อยู่ที่ร้อยละ 25.02 และเมืองอัจฉริยะด้านการศ กษา S a t cati
มีค่าคะแนนเฉลี่ยที่ต่ำรองลงมา อยู่ที่ร้อยละ 27.56 ตามลำดับ
สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห นว่า มิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะมีความสอดคล้องกับภารกิจอำนาจหน้าที่
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายก คือ มิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะใดที่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดำเนินการอยู่เป นประจำ อันเป นภารกิจที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุ้นชิน ก จะมี
ระดับความพร้อมมาก ดังเช่น การบริหารจัดการภาครัฐ การพัฒนาคุณภาพชีวิต และการพัฒนาเศรษฐกิจ
ชุมชน ล้วนเป นภารกิจและอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จะต้องดำเนินการเป นประจำ
เพื่อพัฒนาท้องถิ่นและคุณภาพชีวิตของประชาชน ขณะที่ภารกิจด้านการคมนาคมและด้านพลังงานนั้น
ส่วนให ่มักเป นภารกิจอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานส่วนกลางในการดำเนินการ ซ ่งเกี่ยวข้องกับองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นน้อยมาก อีกทั้งเมื่อเราย้อนกลับไปดูนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะจากรัฐส่วนกลาง
ที่ลงมาสู่ระดับท้องถิ่นแล้วนั้นกลับยิ่งพบว่า รัฐมีนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะลงมาสู่ระดับท้องถิ่น
น้อยมาก ไม่มีรายละเอียดในเชิงนโยบายที่ชัดเจน ทำให้การพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับท้องถิ่นไทยมีระดับ
ความพร้อมในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ
สถาบันพระปกเก ้า