Page 52 - kpiebook63021
P. 52
แ น า ท แสดง า ร มการ ั นา ม องอั ริ ขององ กร ก รองส่ นท้อง ิ น นแต่ล มิติ รายงานสถานการณ์
ท มา วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 21-23.
การ ก า
ข้อสังเกตที่น่าสนใจประการหน ่งจากผลสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการศ กษา S a t ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
cati ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หตุ ด งม ลสำร าม ร้อมอ ู่ นร ดับน้อ ทั ง ท
ด้านการ ก า นสิ งท รั บาล ห้ ามสำ ั มาก
ผลการสำรวจพบข้อมูลที่น่าสนใจ โดยเฉพาะกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามส่วนให ่นั้น
เป นองค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลตำบล เมื่อพิจารณาถ งอำนาจหน้าที่ด้านการศ กษาขององค์การ
บริหารส่วนตำบลและเทศบาลตำบลแล้วนั้น ส่วนให ่เป นการจัดบริการสา ารณะขนาดเล ก เช่น
ศูนย์พัฒนาเด กเล ก การจัดบริการการศ กษาระดับอนุบาล ขณะที่การจัดการศ กษาที่มีขนาดให ่ข ้นไป เช่น
สถานศ กษาระดับโรงเรียนข ้นไปนั้น จะดำเนินการโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดให ่ประเภท
เทศบาลข ้นไป ดังนั้นเหตุผลนี้อาจเป นส่วนหน ่งที่ส่งผลต่อความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการศ กษา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยเช่นกัน
ขนาดขององ กร ก รองส่ นท้อง ิ น
เมื่อเราทราบแล้วว่า การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการบริหารจัดการภาครัฐ S a t
t ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป นมิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่มีความโดดเด่นมากที่สุด
มีความพร้อมในการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง แล้วหากถามต่อไปว่า ผลสำรวจภาพรวม
ในแต่ละประเภทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นเป นอย่างไร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท
มีความโดดเด่นในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในมิติที่เหมือนกันหรือไม่ หรือแตกต่างกันในมิติใดบ้าง
สถาบันพระปกเก ้า