Page 58 - kpiebook63021
P. 58

ท บาลน ร  ลา อำ  อ ม อง  ังห ัด  ลา ได้ดำเนินการจัดตั้ง ูน  บริการร่ ม หรือที่เรียกว่า
                            St p S   ic  ข ้นมา เพื่อพัฒนาประสิท ิภาพการให้บริการประชาชนและบริหารจัดการเทคโนโลยี
                        สารสนเทศภายในหน่วยงาน เทศบาลนครยะลาได้ปรับปรุงระบบการชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุง

                        ท้องที่ และภาษีป าย โดยจัดเก บในรูปแบบ     St p S   ic  มีระบบแจ้งกระบวนการทำงานและระยะ          รายงานสถานการณ์
                        เวลาติดตามได้อย่างสะดวก หรือกรณีที่ประชาชนมีเรื่องร้องเรียนก สามารถดำเนินการแจ้งผ่านระบบ

                        ออนไลน์ได้โดยตรง จากนั้นเทศบาลก จะนำเรื่องร้องเรียนดังกล่าวดำเนินการให้กับประชาชนและ
                        แจ้งผลให้ทราบภายใน 15 วัน นอกจากนี้เทศบาลนครยะลายังได้พัฒนาศูนย์บริการ     St p S   ic
                        อย่างต่อเนื่อง โดยได้ทำบันท กลงนามข้อตกลงความร่วมมือกับการไฟฟ าส่วนภูมิภาค โดยมีจุดประสงค์เพื่อ

                        เพิ่มจุดให้บริการรับคำร้องขอใช้กระแสไฟฟ าและคำร้องขอขยายเขตระบบไฟฟ าให้กับประชาชนในพื้นที่
                        เทศบาลนครยะลาให้ได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งข ้น



































                        ท  มา  ภาพประชาสัมพัน ์ จากเทศบาลนครยะลา http://www. a acit .  .th/ a     /  tai /827            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น



                          5.2   a t  i i

                                การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านคุณภาพชีวิต หรือ S a t  i i   ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        เป นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการชุมชนและสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนอย่าง
                        เป นระบบ เพื่อทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีข ้น ซ ่งผลการสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในครั้งนี้ได้ชี้

                        ให้เห นอย่างชัดเจนว่า การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านคุณภาพชีวิต  S a t  i i    มีระดับความพร้อมใน
                        การพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่โดดเด่นเป นอันดับสอง ผลการสำรวจได้ชี้ให้เห นว่า เทศบาลนครมีศักยภาพ
                        ความพร้อมและความสามารถในการพัฒนาเมืองไปสู่การเป นเมืองอัจฉริยะค่อนข้างสูง สอดคล้องกับ

                        ผลการสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านคุณภาพชีวิต  S a t  i i    ที่มีความโดดเด่นกว่าองค์กร
                        ปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทอื่น ซ ่งเทศบาลนครมีระดับความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับสูง




                                                                                                 สถาบันพระปกเก ้า   47
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63