Page 59 - kpiebook63021
P. 59
และมีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงถ งร้อยละ 72.85 ขณะที่ความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับรองลงมานั้น
พบว่า เทศบาลเมืองและเทศบาลตำบล มีระดับความพร้อมการพัฒนาเมืองอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง
รายงานสถานการณ์ โดยมีช่วงคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 57.13 และ 56.21 ตามลำดับ ส่วนองค์การบริหารส่วนตำบล
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น พบว่า มีระดับความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับปานกลาง
มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 53.94 และ 46.72 ตามลำดับ ดังแผนภาพที่แสดงต่อไปนี้
แ น า ท แสดง า ร มร ดับ าม ร้อมการ ั นา ม องอั ริ ด้าน ุณ า ช ิต
ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ท มา วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 43-54.
ผลการสำรวจดังกล่าวยังสะท้อนให้เห นว่า เทศบาลมีศักยภาพในการพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต
ของประชาชนในท้องถิ่นค่อนข้างมาก ส่วนหน ่งนั้นเป นผลมาจากการถ่ายโอนอำนาจหน้าที่ด้านการพัฒนา
คุณภาพชีวิตและจัดบริการสา ารณะโดยทั่วไปให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทำให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นโดยส่วนให ่สามารถดำเนินการจัดบริการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในท้องถิ่น
มาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ผลสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านคุณภาพชีวิตยังสะท้อนให้เห นการทำ
หน้าที่ของผู้บริหารท้องถิ่นโดยส่วนให ่ที่ค่อนข้างตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่ได้เป นอย่างดี
สิ่งเหล่านี้ล้วนเป นลักษณะของความเป นประชา ิปไตยแบบตัวแทนในระดับท้องถิ่นที่มีความโดดเด่น
ค่อนข้างมาก
ผลการสำรวจได้ชี้ให้เห นข้อมูลที่น่าสนใจของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านคุณภาพชีวิต S a t
i i ได้อย่างเป นรูป รรม โครงการหรือกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนให ่ให้ความสนใจนั้น
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน ผ่านการพัฒนาและออกแบบ
แพลตฟอร์มออนไลน์หรือแอพลิเคชั่นที่ใช้สำหรับติดตามตรวจสอบคุณภาพชีวิต ตลอดจนการรายงาน
สถานการณ์ในชุมชนได้ แอ ลิ ชั น ดูด ด by P DD เป นหน ่งในโครงการที่เกี่ยวกับการพัฒนา
แอพลิเคชั่นที่ได้รับความนิยมอย่างมาก โดยมีเทศบาลนครเชียงใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ได้นำ
48 สถาบันพระปกเก ้า