Page 61 - kpiebook63021
P. 61
5.3 a t c
รายงานสถานการณ์ เมืองอัจฉริยะที่มีความก้าวหน้าในลำดับต้น โดยมีคะแนนรองลงมาเป นอันดับที่สามของมิติการพัฒนาเมือง
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านเศรษฐกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก เป นอีกหน ่งมิติการพัฒนา
อัจฉริยะ ในมิติการพัฒนาด้านเศรษฐกิจจะเป นการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา
และส่งเสริมระบบเศรษฐกิจในชุมชน สนับสนุนข้อมูลหรือความรู้เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
ผลการสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ชี้ให้เห นว่า เทศบาลนคร
มีผลการสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านเศรษฐกิจ S a t c ที่มีความโดดเด่นมากที่สุด โดยมี
ความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง และมีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ
ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
58.09 ขณะที่ความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับรองลงมานั้น พบว่า องค์การบริหารส่วนตำบล
เทศบาลตำบล และเทศบาลเมือง มีความพร้อมการพัฒนาเมืองอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ย
ที่ใกล้เคียงกันอยู่ที่ร้อยละ 46.32, 45.94 และ 45.18 ตามลำดับ ส่วนองค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น
กลับมีระดับความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะเป นอันดับสุดท้าย โดยมีความพร้อมอยู่ในระดับปานกลาง
ค่อนข้างต่ำ และมีคะแนนเฉลี่ยเพียงร้อยละ 38.00 เท่านั้น ดังแผนภาพที่แสดงต่อไปนี้
แ น า ท แสดง า ร มร ดับ าม ร้อมการ ั นา ม องอั ริ ด้าน ร กิ
ท มา วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 43-54.
ผลการสำรวจดังกล่าวได้สะท้อนให้เห นว่า เทศบาลนครยังคงมีศักยภาพในการพัฒนา
ด้านเศรษฐกิจชุมชนมากกว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทอื่น ขณะที่องค์การบริหารส่วนตำบล
เทศบาลตำบล และเทศบาลเมืองนั้นมีศักยภาพที่ใกล้เคียงกัน องค์การบริหารส่วนจังหวัดเป นอันดับสุดท้าย
ที่มีศักยภาพน้อยที่สุด ส่วนหน ่งนั้นเป นผลมาจากการถ่ายโอนภารกิจอำนาจหน้าที่และทรัพยากร
ไปให้กับองค์กรปกครงส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะเทศบาลนครที่มีอำนาจหน้าที่และทรัพยากรเป นจำนวนมาก
ตลอดจนเทศบาลนครมีสภาพพื้นที่เป นพื้นที่เมืองค่อนข้างสูง ทำให้เทศบาลนครจำเป นต้องเร่งพัฒนา
5 สถาบันพระปกเก ้า