Page 66 - kpiebook63021
P. 66
5.5 a t i t
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก เป นอีกหน ่งมิติการพัฒนา
เมืองอัจฉริยะที่ค่อนข้างมีความก้าวหน้าเช่นเดียวกัน ผลการสำรวจได้ชี้ให้เห นว่า การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าคะแนนเป นอันดับที่ห้าจากมิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะทั้งหมด ซ ่งการพัฒนา รายงานสถานการณ์
เมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมนั้นจะเป นการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการ
สิ่งแวดล้อม การจัดการขยะ น้ำเสีย และสิ่งป ิกูลต่าง ในชุมชนอย่างเป นระบบ
ผลการสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมได้สะท้อนข้อมูลที่น่าสนใจ พบว่า องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดให ่มีความก้าวหน้าในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมค่อนข้างมาก
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมในเทศบาลนคร มีผลสำรวจระดับความพร้อม
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะค่อนข้างสูง โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยถ งร้อยละ 63.38 รองลงมาเป นเทศบาลเมืองและ
เทศบาลตำบล ซ ่งมีความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับปานกลาง และมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่
ร้อยละ 53.81 และ 48.67 ตามลำดับ ขณะที่ผลสำรวจกลับชี้ให้เห นว่า องค์การบริหารส่วนตำบลและ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับปานกลาง
ค่อนข้างต่ำ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 40.98 และ 35.00 ตามลำดับ ดังแผนภาพที่แสดงต่อไปนี้
แ น า ท แสดง า ร มร ดับ าม ร้อมการ ั นา ม องอั ริ ด้านสิ งแ ดล้อม ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ท มา วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 43-54.
ผลการสำรวจสะท้อนให้เห นว่า เทศบาลได้มีการดำเนินงานโครงการหรือกิจกรรมการพัฒนา
เมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเทศบาลนครที่มีความพร้อมในการพัฒนา
เมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมที่โดดเด่นมากกว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทอื่น ขณะที่เทศบาลเมือง
และเทศบาลตำบลมีความพร้อมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะเป นลำดับรองลงมา ส่วนหน ่งนั้นเป นผลมาจาก
การเติบโตของเมืองในเขตเทศบาลที่มีการขยายตัวของเมืองออกไปอย่างรวดเร ว จนเกิดความหนาแน่นของ
สถาบันพระปกเก ้า 55