Page 63 - kpiebook63021
P. 63

ท บาล ม องลำ ูน อำ  อ ม อง  ังห ัดลำ ูน ได้ดำเนิน  รงการ Lu  hun   art City
                     ให้ความรู้ในการบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ย่านเมืองเก่าลำพูน เพื่อให้เจ้าหน้าที่และประชาชน
            รายงานสถานการณ์   ทราบแนวทางการป ิบัติในการบริหารจัดการเมืองเก่าลำพูน ให้สอดคล้องกับการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป น


                     เครื่องมือในการพัฒนาย่านเมืองเก่าได้อย่างมีประสิท ิภาพ การดำเนินโครงการในเบื้องต้นนั้น เทศบาล
                     เมืองลำพูนได้มีการเช่าพื้นที่ชุมชนมาเป นพิพิ ภัณ ์เมือง มีการจัดแสดงเครื่องใช้เก่าแก่ให้ประชาชนได้เข้าชม

                     อย่างทั่วถ ง ขณะเดียวกันเทศบาลเมืองลำพูนได้พัฒนาการท่องเที่ยวอัจฉริยะ โดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลและ
                     ระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในการวางระบบโครงสร้าง I  ของเมือง จากนั้นพัฒนาข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่
                     ท่องเที่ยว ประวัติชุมชน และรายละเอียดต่าง  เพื่อนำมาสร้างแพลตฟอร์มผ่าน       t     a it

            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                     และพัฒนาแอพลิเคชั่นสำหรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในพื้นที่




















                     ท  มา  ภาพประชาสัมพัน ์ จากเทศบาลเมืองลำพูน http :// a ph  cit .  .th/9584/



                       5.4   a t   a thca

                            การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก เป นอีกหน ่งมิติการพัฒนา

                     เมืองอัจฉริยะที่มีความก้าวหน้าในลำดับต้น  โดยมีคะแนนรองลงมาเป นอันดับที่สี่ของมิติการพัฒนา
                     เมืองอัจฉริยะ ซ ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ใน

                     การส่งเสริม ป องกัน ดูแลสุขภาพประชาชนในท้องถิ่น ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีพัฒนาด้านการแพทย์และ
                     สา ารณสุข เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีข ้น

                            ผลการสำรวจได้สะท้อนให้เห นว่า เทศบาลมีความโดดเด่นค่อนข้างมากในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ

                     ด้านสุขภาพ  S a t   a thca    โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่มีผลการสำรวจอยู่ใน
                     ระดับปานกลางค่อนข้างสูง โดยเทศบาลนครมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 68.52 ซ ่งสูงกว่าเทศบาลเมืองที่มี

                     คะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 59.04 ขณะที่เทศบาลตำบลนั้นมีระดับความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
                     ที่ต่ำกว่าเทศบาลนครและเทศบาลเมือง มีความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับปานกลาง และ
                     มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 49.06 อย่างไรก ตามผลสำรวจได้ชี้ให้เห นว่า องค์การบริหารส่วนตำบลและ

                     องค์การบริหารส่วนจังหวัด กลับมีความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ
                     เท่านั้น โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 44.79 และ 32.84 ตามลำดับ ดังแผนภาพที่แสดงต่อไปนี้






                 52   สถาบันพระปกเก ้า
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68