Page 64 - kpiebook63021
P. 64
แ น า ท แสดง า ร มร ดับ าม ร้อมการ ั นา ม องอั ริ ด้านสุข า รายงานสถานการณ์
ท มา วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 43-54.
ผลการสำรวจดังกล่าวได้สะท้อนให้เห นว่า เทศบาลส่วนให ่มีศักยภาพในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ด้านสุขภาพค่อนข้างสูง อำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เอื้อให้เทศบาลมีบทบาทในการจัด ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บริการด้านการสา ารณสุขในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป นการถ่ายโอนสถานีอนามัย/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ไปให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการส่งเสริมสุขอนามัยชุมชน จ งมีความจำเป นต้องเร่งพัฒนาและ
ส่งเสริมด้านการสา ารณสุขในพื้นที่ ตลอดจนตอบสนองความต้องการของประชาชนด้านการสา ารณสุข
ได้อย่างทันท่วงที
จากผลการสำรวจในครั้งนี้ได้ชี้ให้เห นข้อมูลที่น่าสนใจ พบว่า เทศบาลขนาดให ่โดยเฉพาะ
เทศบาลนครและเทศบาลเมืองมีศักยภาพในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้าน
สา ารณสุขมากที่สุด โดยการดำเนินงานนั้นจะมุ่งเน้นไปที่การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้ป วยติดเตียง
ผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์และอุปกรณ์สายรัดข้อมืออัจฉริยะ เพื่อติดตามข้อมูลด้านสุขภาพของผู้สูงอายุและ
ผู้ป วยติดเตียง ตลอดจนการให้ความช่วยเหลือด้านสุขภาพได้ทันท่วงที โดยมีตัวอย่างองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นที่ได้ดำเนินโครงการหรือกิจกรรมดังกล่าว เช่น เทศบาลนครเชียงราย อำเภอเมือง จังหวัด
เชียงราย และเทศบาลเมืองแสนสุข อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ที่ได้ดำเนินโครงการ S a t
a thca ผ่านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสายรัดข้อมืออัจฉริยะเพื่อสร้างความปลอดภัยด้านสุขภาพให้แก่
ผู้สูงอายุในชุมชน โดยมีรายละเอียดการดำเนินงาน ดังนี้
สถาบันพระปกเก ้า 5