Page 68 - kpiebook63021
P. 68
พัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยคาดว่าในอนาคตจะสร้างโรงกำจัดขยะและแปรรูปขยะเป นพลังงานไฟฟ า เพื่อ
แก้ปั หาขยะและรองรับปริมาณความต้องการของประชาชนในพื้นที่ที่เพิ่มข ้น
นอกจากนี้ยังมี ม อง ัท า ังห ัดชลบุร ได้มีการนำเทคโนโลยีมาพัฒนาระบบตรวจวัดสภาพอากาศ
ด้วยเซนเซอร์ ซ ่งระบบเซ นเซอร์นี้จะส่งข้อมูลคุณภาพอากาศและค่าฝุ นไปยังประชาชน หากมีสภาพอากาศ รายงานสถานการณ์
ที่อาจส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนก จะมีการระบบแจ้งเตือนให้ประชาชนสวมหน้ากากและงดกิจกรรม
กลางแจ้ง อีกทั้งผู้บริหารเมืองพัทยายังสามารถนำข้อมูลสถิติจากระบบเซ นเซอร์ไปหาแนวทางแก้ไขปั หา
และวางมาตรการป องกันด้านสิ่งแวดล้อมได้ต่อไป
5.6 a t a t
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านความปลอดภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก เป นอีกหน ่งมิติ
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรจะดำเนินการพัฒนาอยู่ในอันดับต้น หากแต่
ผลการสำรวจกลับชี้ให้เห นว่า การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านความปลอดภัยไม่ค่อยมีความโดดเด่นมากนัก
โดยมีการพัฒนาเป นอันดับที่หกของมิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะทั้งหมด การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้าน
ความปลอดภัยจะเป นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้เพื่อการป องกัน เฝ าระวังอาช ากรรมและ
ภัยอันตรายต่าง รวมถ งการจัดการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในชุมชนอย่างเป น
ระบบ ซ ่งผลการสำรวจเมืองในครั้งนี้ พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดให ่มีความพร้อมการพัฒนา ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เมืองอัจฉริยะด้านความปลอดภัยค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้าน
ความปลอดภัยในเทศบาลนครมีผลการสำรวจอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง มีคะแนนเฉลี่ยสูงถ งร้อยละ
70.19 รองลงมาเป นเทศบาลเมือง องค์การบริหารส่วนจังหวัด และเทศบาลตำบล ซ ่งมีผลการสำรวจ
ความพร้อมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 55.45, 50.76
และ 46.20 ตามลำดับ ขณะที่ผลการสำรวจขององค์การบริหารส่วนตำบลนั้นกลับไม่ค่อยมีความโดดเด่น
มากนัก องค์การบริหารส่วนตำบลมีความพร้อมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ
และมีคะแนนเฉลี่ยเพียงร้อยละ 38.71 เท่านั้น ดังแผนภาพที่แสดงต่อไปนี้
สถาบันพระปกเก ้า 5