Page 67 - kpiebook63021
P. 67
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและความหนาแน่นทางประชากร ผลต่อเนื่องที่ตามมาของความเป นเมืองอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้เลย นั่นคือ ปั หาด้านสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง ซ ่งก หมายได้ให้อำนาจหน้าที่แก่องค์กร
รายงานสถานการณ์ ปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป นการจัดการขยะ สิ่งป ิกูลมูลฝอย น้ำเสีย
และการรักษาสิ่งแวดล้อม สิ่งเหล่านี้ได้ทำให้เทศบาลมีความจำเป นต้องเร่งแก้ไขปั หาและพัฒนาด้าน
สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพของหน่วยงานให้สามารถตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนได้อย่างทันท่วงที
นอกจากนี้ผลการสำรวจยังสะท้อนให้เห นข้อมูลที่น่าสนใจอีกประการหน ่ง นั่นคือ การดำเนิน
โครงการหรือกิจกรรมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนให ่พบการดำเนิน
ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กิจกรรมในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาล ขณะที่องค์การบริหารส่วนตำบลและองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดกลับไม่พบการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมเมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมเลย ดังนั้น
ผู้เขียนจ งตั้งข้อสังเกตว่า เทศบาลมีศักยภาพความพร้อมในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมทั้งในแง่ของ
งบประมาณ กำลังคน และระบบงานที่ค่อนข้างสูง อีกทั้งยังมีการตอบสนองต่อปั หาของประชาชนในพื้นที่
ได้เป นอย่างดี ผลการสำรวจจ งสะท้อนให้เห นโครงการหรือกิจกรรมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม
ในเทศบาลเป นจำนวนมาก โดยมีตัวอย่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป นเทศบาล
นครเชียงใหม่ เทศบาลนครขอนแก่น และเมืองพัทยา ที่ได้ดำเนินโครงการหรือกิจกรรมสอดคล้องกับ
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม มีรายละเอียดดังนี้
ท บาลน ร ช ง หม่ อำ อ ม อง ังห ัด ช ง หม่ ประสบปั หาปริมาณขยะที่มากถ ง 330 ตัน
ต่อวัน และมีแนวโน้มมากข ้นเรื่อย ทำให้เทศบาลนครเชียงใหม่ได้ร่วมมือกับผู้พัฒนาแอพลิเคชั่นบน
สมาร์ทโฟนข ้นมาที่มีชื่อว่า แอพลิเคชั่น เพื่อจัดเก บขยะและรีไซเคิลขยะในเขตเทศบาล ประชาชน
สามารถกรอกข้อมูลปริมาณขยะ เรียกเก บขยะและรับซื้อขยะรีไซเคิลจากเทศบาลได้โดยตรง นอกจากนี้ยังมี
การสอนคัดแยกขยะอย่างถูกวิ ีก่อนนำไปทิ้งและการสร้างขยะให้มีมูลค่า เพื่อสร้างรายได้กลับสู่ชุมชน
ซ ่งแอพลิเคชั่นดังกล่าวช่วยให้เทศบาลทราบปริมาณขยะในแต่ละพื้นที่ได้ง่ายข ้น ทำให้การจัดการขยะ
ในพื้นที่เป นไปอย่างมีประสิท ิภาพ อีกทั้งเทศบาลยังทำหน้าที่เป นสื่อกลางรับซื้อขยะกับผู้ขายโดยตรง
นับว่าเทศบาลนครเชียงใหม่เป นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งแรกของประเทศไทยที่สามารถพัฒนาระบบ
จัดการขยะอัจฉริยะข ้นมาใช้ในชุมชน
ขณะที่ ท บาลน รขอนแก่น อำ อ ม อง ังห ัดขอนแก่น ก ประสบปั หาขยะในเมือง
เช่นเดียวกัน เนื่องจากเทศบาลนครขอนแก่นมีความเป นเมืองสูงและเป นจุดศูนย์กลางการพัฒนาภูมิภาคใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้เกิดการขยายตัวของพื้นที่อย่างรวดเร วและเกิดการหลั่งไหลของประชากร
เข้ามาในพื้นที่จำนวนมาก ผลที่ตามคือ ปริมาณขยะที่เพิ่มสูงข ้นถ งประมาณ 270 ตันต่อวัน เทศบาล
นครขอนแก่นจ งพัฒนาระบบจัดการขยะในพื้นที่ข ้นมา ประกอบด้วย 1 . แอพลิเคชั่นสำหรับคนขับรถขยะ
เพื่อบอกเส้นทางการเดินรถและรายงานข้อมูลขยะ 2 . แอพลิเคชั่นสำหรับประชาชน เพื่อตรวจสอบจุดทิ้ง
ขยะ ตำแหน่งรถขยะ และช่องทางการร้องเรียน 3 . ack สำหรับรวบรวมข้อมูลสถิติและรายงาน
ผลไปยังผู้บริหารให้สามารถดำเนินงานวางแผนและแก้ปั หาต่อไปได้ ปัจจุบันนี้เทศบาลนครขอนแก่นยังคง
56 สถาบันพระปกเก ้า