Page 47 - kpiebook63019
P. 47

42






               9 ภูมิภาค ได้แก่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคกลาง ตะวันออก เหนือตอนบน เหนือตอนล่าง

               ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ใต้ตอนบน และใต้ตอนล่าง

                           องค์ประกอบในการประเมินรัฐสภา 6 ด้าน ได้แก่ การเป็นตัวแทนของประชาชน (R)

               การตรวจสอบฝ่ายบริหาร (O) การทำหน้าที่นิติบัญญัติ (L) ความโปร่งใสและการเข้าถึงได้(T) ความสำนึก
               รับผิดชอบ (A) และการมีส่วนร่วมในนโยบายระหว่างประเทศ (I)

                           เกณฑ์กำหนดระดับการดำเนินงานของรัฐสภา 5 ระดับ คือ

                              คะแนน 0.00 - 1.00 = ระดับต่ำมาก,
                              คะแนน 1.01 - 2.00 = ระดับต่ำ,

                     





 
 คะแนน 2.01 - 3.00 = ระดับปานกลาง,
                              คะแนน 3.01 - 4.00 = ระดับสูง,
                              คะแนน 4.01 - 5.00 = ระดับสูงมาก


                              โดยได้ผลในการศึกษาครั้งนั้น ดังนี้
                                      การประเมินผลการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)

               ภาพ 2-2  ค่าเฉลี่ยผลการประเมินรัฐสภา (2554) โดยภาพรวม

                                                            R

                                                          5
                                                          4
                                                           2  . 6
                                                          3
                                          I                                    O
                                               2  . 6     2             2  . 8
                                                          1

                                                          0


                                                2  . 3                  2  . 8
                                         A                                     L
                                                           2  . 5



                                                            T
                                       ภาพ 2-2  ค่าเฉลี่ยผลการประเมินรัฐสภา (2554) โดยภาพรวม
               ที่มา : สถาบันประปกเกล้า, รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ สถาบันการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย: ศึกษากรณีการดำเนินงานของ
                      ที่มา : สถาบันประปกเกล้า, รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ สถาบันการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย: ศึกษากรณี
               รัฐสภาตามเกณฑ์และตัวชี้วัดของสหภาพรัฐสภา (Inter-Parliamentary Union : IPU), กรุงเทพ: สถาบันพระปกเกล้า, 2554 หน้า 6-88.
                      การด าเนินงานของรัฐสภาตามเกณฑ์และตัวชี้วัดของสหภาพรัฐสภา (Inter-Parliamentary Union : IPU),

                      กรุงเทพ: สถาบันพระปกเกล้า, 2554 หน้า 6-88.
                                                  R = การเป็นตัวแทนของประชาชน

                                                  O = การตรวจสอบฝ่ายบริหาร
                                                  L = การท าหน้าที่นิติบัญญัติ

                                                  T = ความโปร่งใสและการเข้าถึงได้

                                                  A = ความส านึกรับผิดชอบ
            การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
                                                  I   = การมีส่วนร่วมในนโยบายระหว่างประเทศ

                             คณะผู้วิจัยในครั้งนั้นพบว่า ผลการประเมินรัฐสภาโดยภาพรวมองค์ประกอบหลักทั้ง 6 ด้าน

                      อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย= 2.6, S.D.= 0.66) เมื่อพิจารณาผลของแต่ละองค์ประกอบหลัก

                      มีค่าคะแนนเฉลี่ยเรียงล าดับจากสูงสุดไปต่ าสุด ดังนี้ การท าหน้าที่ด้านนิติบัญญัติ (ค่าเฉลี่ย =2.8, S.D.=

                      0.66) การตรวจสอบฝ่ายบริหาร (ค่าเฉลี่ย = 2.8, S.D.= 0.61) การเป็นตัวแทนประชาชน (ค่าเฉลี่ย =

                      2.6, S.D. =0.61) การมีส่วนร่วมในนโยบายระหว่างประเทศ (ค่าเฉลี่ย= 2.6,  S.D.= 0.74) ความโปร่งใส

                      และการเข้าถึงได้ (ค่าเฉลี่ย = 2.5, S.D.= 0.64) และความส านึกรับผิดชอบ (ค่าเฉลี่ย =2.3, S.D. = 0.69)

                      แสดงให้เห็นว่าผลการประเมินองค์ประกอบหลักทั้ง 6 ด้านนั้น จัดอยู่ในระดับปานกลางทั้งสิ้น และ

                      องค์ประกอบที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การท าหน้าที่ด้านนิติบัญญัติและการตรวจสอบฝ่ายบริหาร ซึ่งนับว่า






                                                               2-29
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52