Page 29 - kpiebook63019
P. 29

24

                       การประเมินผลการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)


               ภาพ 2.1 กรอบแนวคิดหลักธรรมาภิบาล   19




































                     ในปัจจุบัน หลักธรรมาภิบาล ได้รับการยอมรับว่าเป็นหลักการสำคัญที่ประเทศไทยจำเป็นต้องยึดถือ
                                                                                 17
                                      ภาพ 2.1 กรอบแนวคิดหลักธรรมาภิบาล
               และมุ่งมั่นที่จะรักษาไว้ โดยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้ปรากฏถ้อยคำ

               “ธรรมาภิบาล” ทั้งในคำปรารภถึงเจตจำนงของรัฐธรรมนูญ ดังนี้
                     “..เพื่อมิให้ผู้บริหารที่ปราศจากคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลเข้ามามีอำนาจในการปกครอง
          ในปัจจุบัน หลักธรรมาภิบาล ได้รับการยอมรับว่าเป็นหลักการส าคัญที่ประเทศไทยจ าเป็นต้อง
               บ้านเมืองหรือใช้อำนาจตามอำเภอใจ และการกำหนดมาตรการป้องกันและบริหารจัดการวิกฤตการณ์ของ
   ยึดถือและมุ่งมั่นที่จะรักษาไว้ โดยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้ปรากฏ
               ประเทศให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น...”

   ถ้อยค า “ธรรมาภิบาล”ทั้งในค าปรารภถึงเจตจ านงของรัฐธรรมนูญ ดังนี้
                     “การสร้างกลไกในการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญและจำเป็นอย่างร่วมมือร่วมใจกัน
               รวมตลอดทั้งการลดเงื่อนไขความขัดแย้งเพื่อให้ประเทศมีความสงบสุขบนพื้นฐานของความรู้รักสามัคคี
            “..เพื่อมิให้ผู้บริหารที่ปราศจากคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลเข้ามามีอ านาจในการ
               ปรองดองการจะดำเนินการในเรื่องเหล่านี้ให้ลุล่วงไปได้จำต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างประชาชน
               ทุกภาคส่วนกับหน่วยงานทั้งหลายของรัฐตามแนวทางประชารัฐภายใต้กฎเกณฑ์ตามหลักการปกครอง
   ปกครองบ้านเมืองหรือใช้อ านาจตามอ าเภอใจ และการก าหนดมาตรการป้องกันและบริหารจัดการ
               ในระบอบประชาธิปไตยและประเพณีการปกครองที่เหมาะสมกับสถานการณ์และลักษณะสังคมไทย
   วิกฤตการณ์ของประเทศให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น...”
               
     19   จาก สถาบันการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย: ศึกษากรณีการดำเนินงานของรัฐสภาตามเกณฑ์และตัวชี้วัดของสหภาพ
               รัฐสภา (Inter-Parliamentary Union: IPU (น.2-8) โดย สถาบันพระปกเกล้า, 2555, กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, ลิขสิทธิ์ 2555
            “การสร้างกลไกในการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ ที่ส าคัญและจ าเป็นอย่างร่วมมือร่วมใจกัน
               โดย สถาบันพระปกเกล้า.
   รวมตลอดทั้งการลดเงื่อนไขความขัดแย้งเพื่อให้ประเทศมีความสงบสุขบนพื้นฐานของความรู้รักสามัคคี


   ปรองดองการจะด าเนินการในเรื่องเหล่านี้ให้ลุล่วงไปได้จ าต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างประชาชนทุกภาค

            การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
   ส่วนกับหน่วยงานทั้งหลายของรัฐตามแนวทางประชารัฐภายใต้กฎเกณฑ์ตามหลักการปกครองในระบอบ

   ประชาธิปไตยและประเพณีการปกครองที่เหมาะสมกับสถานการณ์และลักษณะสังคมไทย หลักความสุจริต




   17  จาก สถาบันการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย: ศึกษากรณีการด าเนินงานของรัฐสภาตามเกณฑ์และตัวชี้วัดของ

   สหภาพรัฐสภา (Inter-Parliamentary Union: IPU (น.2-8) โดย สถาบันพระปกเกล้า,2555, กรุงเทพ: สถาบัน

   พระปกเกล้า, ลิขสิทธิ์ 2555 โดย สถาบันพระปกเกล้า.


                                                       2-9
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34