Page 36 - kpiebook62011
P. 36
32
ตารางที่ 2 เกณฑ์การพิจารณาความสอดคล้องกับข้อ 16 ของคู่มือปฏิบัติตามความสมัครใจฯ
ประเด็นพิจารณา ตัวชี้วัด
การกำหนดวัตถุประสงค์ ๏ คำนิยาม “วัตถุประสงค์สาธารณะ” มีความชัดเจน
สาธารณะ
ข้อจำกัดเรื่องจำนวนและประเภท ๏ รัฐเวนคืนที่ดินน้อยที่สุดเท่าที่จำเป็น
ที่ดิน ๏ พื้นที่ที่มีความสำคัญเชิงวัฒนธรรม ศาสนา และสิ่งแวดล้อม ได้รับการปกป้อง
เป็นพิเศษ
๏ ที่ดินของกลุ่มคนยากจนและเปราะบางได้รับการปกป้องเป็นพิเศษ
๏ รัฐคืนสิทธิถือครองเมื่อไม่ได้ใช้เพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะแล้ว
กระบวนการเวนคืน ๏ รัฐระบุประชาชนผู้ได้รับผลกระทบทั้งหมดก่อนการเวนคืน
๏ รัฐให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบก่อนการเวนคืน
๏ รัฐมีการปรึกษาหารือกับประชาชนผู้ได้รับผลกระทบก่อนการเวนคืน
ค่าทดแทน
ผู้มีสิทธิได้รับค่าทดแทน
๏ ผู้ถือครองที่ดินตามจารีต*ที่มีสิทธิรับรองมีสิทธิ์ที่จะได้รับค่าทดแทน
๏ ผู้ถือครองที่ดินตามจารีตที่ไม่มีสิทธิรับรองมีสิทธิ์ที่จะได้รับค่าทดแทน
๏ ผู้ใช้ประโยชน์จากที่ดินรกร้างมีสิทธิ์ที่จะได้รับค่าทดแทน
การคำนวณค่าทดแทน ๏
รัฐคำนวณค่าทดแทนโดยคำนึงถึงความอ่อนไหวทางเพศสภาวะ**
๏ ค่าทดแทนสะท้อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจบนที่ดินนั้นๆ
๏ ค่าทดแทนสะท้อนการปรับปรุงที่ดินนั้นๆ
๏ ค่าทดแทนสะท้อนความเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ หรือวัฒนธรรมบนที่ดิน
นั้นๆ
๏ การจ่ายค่าทดแทนโดยให้ทางเลือกเป็นที่ดินอื่น
การจ่ายค่าทดแทน ๏ การจ่ายค่าทดแทนก่อนการเข้าใช้ที่ดิน
๏ ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบสามารถเจรจาต่อรองค่าทดแทนได้
๏ ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบสามารถอุทธรณ์ค่าทดแทนได้
การฟื้นฟูและการย้ายถิ่นฐาน ๏ ประชาชนผู้ต้องย้ายถิ่นฐานได้รับค่าใช้จ่ายในการย้ายถิ่นฐาน
๏ ประชาชนผู้ต้องย้ายถิ่นฐานได้รับที่ดินและที่อยู่อาศัยใหม่
๏ ที่ดินใหม่ต้องเป็นที่ดินที่อุดมสมบูรณ์
๏ รัฐมีการปรึกษาหารือกับประชาชนผู้ต้องย้ายถิ่นฐานก่อนเริ่มกระบวนการ
๏ รัฐหลีกเลี่ยงการขับไล่ออกจากพื้นที่
ที่มา: Tagliarino (2016)
พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530