Page 38 - kpiebook62011
P. 38
34
จำนวนประเทศ
ตัวชี้วัด ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ข้อบทในกฎหมาย
ของไทย
เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์
บางส่วน
๏ ผู้ใช้ประโยชน์จากที่ดินรกร้างมีสิทธิ์ที่จะได้รับค่าทดแทน 0 11 19 ผ่านเกณฑ์บางส่วน
๏ รัฐคำนวณค่าทดแทนโดยคำนึงถึงความอ่อนไหวทางเพศ 0 1 29 ไม่ผ่านเกณฑ์
สภาวะ
๏ ค่าทดแทนสะท้อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจบนที่ดินนั้นๆ 15 11 4 ผ่านเกณฑ์
๏ ค่าทดแทนสะท้อนการปรับปรุงที่ดินนั้นๆ 16 9 5 ผ่านเกณฑ์บางส่วน
๏ ค่าทดแทนสะท้อนความเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ หรือ 1 6 23 ไม่ผ่านเกณฑ์
วัฒนธรรมบนที่ดินนั้นๆ
๏ การจ่ายค่าทดแทนโดยให้ทางเลือกเป็นที่ดินอื่น 17 0 13 ไม่ผ่านเกณฑ์
๏ การจ่ายค่าทดแทนก่อนการเข้าใช้ที่ดิน 16 7 7 ผ่านเกณฑ์
๏ ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบสามารถเจรจาต่อรองค่าทดแทนได้ 21 2 7 ไม่ผ่านเกณฑ์
๏ ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบสามารถอุทธรณ์ค่าทดแทนได้ 28 0 2 ผ่านเกณฑ์
๏ ประชาชนผู้ต้องย้ายถิ่นฐานได้รับค่าใช้จ่ายในการย้ายถิ่นฐาน 8 1 21 ไม่ผ่านเกณฑ์
๏ ประชาชนผู้ต้องย้ายถิ่นฐานได้รับที่ดินและที่อยู่อาศัยใหม่ 3 3 14 ไม่ผ่านเกณฑ์
๏ ที่ดินใหม่ต้องเป็นที่ดินที่อุดมสมบูรณ์ 0 3 27 ไม่ผ่านเกณฑ์
๏ รัฐมีการปรึกษาหารือกับประชาชนผู้ต้องย้ายถิ่นฐานก่อนเริ่ม 4 1 25 ไม่ผ่านเกณฑ์
กระบวนการ
๏ รัฐหลีกเลี่ยงการขับไล่ออกจากพื้นที่ 1 2 27 ไม่ผ่านเกณฑ์
ที่มา: Tagliarino (2016)
4.3 ความสอดคล้องกันระหว่างกฎหมายไทยกับข้อ 16
ของคู่มือปฏิบัติตามความสมัครใจฯ
เนื้อหาในส่วนนี้จะสรุปความสอดคล้องกันระหว่างกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ของไทย
กับข้อ 16 ของคู่มือปฏิบัติตามความสมัครใจฯของไทย โดยแบ่งออกเป็น (ก) ตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์บางส่วน และ
(ข) ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ แต่ประเทศอื่นๆ ผ่านเกณฑ์
กฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ของไทย มีตัวชี้วัดที่ไทย “ผ่านเกณฑ์” มีทั้งสิ้น 5 ตัวชี้วัด
“ผ่านเกณฑ์บางส่วน” 3 ตัวชี้วัด และ “ไม่ผ่านเกณฑ์” 16 ตัวชี้วัด โดยตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์ ได้แก่
พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530