Page 150 - kpiebook62005
P. 150

-  พัฒนากระบวนการสังเคราะห์ข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ในกรณีตู้น  า

                              หยอดเหรียญ จะมีข้อมูลของกรมอนามัย ส านักอนามัยของท้องถิ่น (กรุงเทพมหานคร หรือ

                              ท้องถิ่นอื่น ๆ) ส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งควรมีการสังเคราะห์ข้อมูลในแต่

                              ละมิติและท าการสรุปแนวทางการติดตามตรวจสอบหรือเฝ้าระวัง และเผยแพร่ต่อเครือข่าย

                              ผู้บริโภคและผู้สนใจในช่องทางที่สะดวก เข้าถึงง่าย และเข้าใจง่าย เพื่อให้เกิดการตื่นตัวจาก

                              ผู้ประกอบการ และมีการพัฒนารักษาคุณภาพอย่างสม่ าเสมอ



               6.2     กรณีศึกษาการเข้าถึงข้อมูลสถานการณ์มลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็ก


               ความส าคัญของการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านสถานการณ์มลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็ก

                       ปัญหาฝุ่น pm 2.5 ได้กลายเป็นปัญหาระดับชาติ จากช่วงเหตุการณ์ที่ฝุ่นและหมอกควันได้ปกคลุม

               กรุงเทพฯ และปริมณฑลในช่วงต้นปี 2562 ที่ผ่านมา ทั งๆ ที่ปัญหาดังกล่าวได้เกิดอย่างรุนแรงต่อเนื่อง

               โดยเฉพาะในพื นที่ภาคเหนือที่จังหวัดเชียงใหม่มาตั งแต่ปี 2550 จนกลายเป็นข่าวระดับโลก แต่ในช่วงเวลานั น

               ยังไม่ได้มีระบุเจาะจงว่าเป็นฝุ่นขนาดเล็ก pm 2.5 จนกระทั่งผลกระทบที่รุนแรงเกิดขึ นที่กรุงเทพฯ เมื่อต้นปี

               ผนวกกับปัญหาฝุ่นในภาคเหนือก็รุนแรงยิ่งขึ นกว่าทุกปี พร้อมไปกับฝุ่นควันในภาคอีสานที่กลายเป็นปัญหา

               ระดับภาคก็ปะทุขึ น ท าให้รัฐและสังคมตื่นตัวที่จะแสวงหาแนวทางป้องกัน แก้ไขอย่างจริงจัง บทความชิ นนี

               ไม่ได้มีเป้าหมายที่จะวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาฝุ่นทั งระบบ แต่จะขอเจาะจงในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ

               ระบบข้อมูลข่าวสารของรัฐว่าได้น าไปสู่การสร้างความพร้อม การแก้ไขปัญหา และการวางแผนป้องกันหรือไม่

               เพียงใด พร้อมกับมีข้อเสนอแนะต่อแนวทางการจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อให้สังคมไทยมีความพร้อมในการ

               จัดการปัญหาฝุ่น pm 2.5 ที่ก าลังจะมาอีกในปีหน้า

                       ปัญหาฝุ่นหมอกควัน เป็นปัญหาระดับโลกและภูมิภาค โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่การ

               ขยายตัวของพืชอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น การเผาพื นที่ป่าเพื่อปลูกปาล์มโดยกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ในเกาะสุ

               มาตรา อินโดนีเซียที่สร้างปัญหาหมอกควันแก่ภูมิภาคทั งมาเลเซีย สิงค์โปร์ และภาคใต้ของไทยมาตั งแต่

               ทศวรรษ 2530 เป็นต้นมา ท าให้กลุ่มประเทศอาเซียนต้องจัดท าแผนปฏิบัติการว่าด้วยเรื่องหมอกควันใน


               ภูมิภาค ปี 2540 และเกิดข้อตกลงว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดนอาเซียน ในปี 2545 แต่ปัญหาหมอกควัน
                                                                                     6
               ในอินโดนีเซีย มาเลเซียก็ยังคงปะทุต่อเนื่อง แม้จะมีการออกมาตรการต่าง ๆ มาก็ตาม






               6  ดามร ค าไตรย์ มลพิษหมอกควันข้ามแดนอาเซียนกับการแก้ไขปัญหาด้วยข้อบังคับระดับท้องถิ่นไทย วารสารนิติสังคมศาสตร์
               มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2561): 87-109



                                                          -123-
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155