Page 153 - kpiebook62005
P. 153

พื นที่ป่าที่ใช้ไฟในการผลิตตามวิถีพื นบ้าน เช่น เตรียมพื นที่ไร่หมุนเวียน แต่ละเลยปัญหาไฟในพื นที่แปลง

               ข้าวโพด และความเข้าใจของสังคมที่คลาดเคลื่อน ผลก็คือ ชุมชนท้องถิ่นถูกปิดกั นการเข้าถึงทรัพยากรเพื่อการ

               ผลิตยังชีพ แต่ธุรกิจข้าวโพดที่สร้างปัญหาไฟและหมอกควันอย่างรุนแรงกลับไม่ได้รับการจัดการเท่าที่ควร

                       ข้อมูลจากหน่วยราชการยังขัดแย้งกับมุมมองของคนในพื นที่ นายสมเกียรติ มีธรรม สถาบันอ้อผะหญา

               ที่ร่วมแม่แจ่มโมเดลได้บอกเล่าว่า เมื่อก่อนชาวบ้านจุดไฟเผาป่าเพื่อหาอาหารจริง แต่ปัจจุบันลดลงไปมาก

               เพราะชุมชนมีการดูแลอย่างเข้มข้น ทั งการคุมพื นที่ ท าแนวกันไฟ เฝ้าระวัง การจัดการแม่แจ่มโมเดล ท าให้ไฟ

               ป่าทั งในพื นที่ป่าและพื นที่ข้าวโพดลดลงมาก ตั งแต่ปี 2559

                       ข้อมูลใดจะถูกต้องกว่าไม่ใช่ประเด็นส าคัญเท่ากับว่า หน่วยงานรัฐยังขาดข้อมูลเชิงระบบที่ละเอียด


               และเจาะจง และไม่ได้เปิดให้ชุมชน ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการพัฒนา จัดการ และตรวจสอบข้อมูลข่าวสาร

               ผลจากข้อมูลที่ไม่ชัดเจน สับสน ท าให้เกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐ ประชาชน และชุมชนในพื นที่ เกิด

               ปรากฏการณ์กล่าวโทษกันไปมา ดังเช่น มีการเคลื่อนไหวของคนเมืองที่ประกาศไม่รับซื อเห็ดเผาะจากชุมชน

               เพราะเข้าใจไปว่า ชุมชนเผาป่าเพื่อเอาเห็ด แต่ในสถานการณ์จริงในพื นที่ การจะได้เห็ดต้องมีการดูแลจัดการ

               ไฟเป็นอย่างดี นอกจากนี การที่รัฐก าหนดนโยบายสั่งการจากข้างบนโดยไม่มีข้อมูลจากข้างล่าง ท าให้มาตรการ

               ต่าง ๆ เช่น การห้ามเผาป่า ก็ไม่ได้ผล

                       อย่างไรก็ตาม ปัญหาของความขัดแย้งไม่ได้เป็นเพราะขาดข้อมูล หรือข้อมูลคลาดเคลื่อน สิ่งที่อยู่ลึกไป

               กว่าข้อมูลก็คือ ทัศนคติและโครงสร้างความสัมพันธ์อ านาจระหว่างรัฐกับชุมชนในพื นที่ป่าที่เป็นตัวก าหนด รัฐมี

               นโยบายควบคุมพื นที่ป่าและชุมชนในพื นที่ป่าอย่างเข้มข้นตั งแต่ปี 2540 เป็นต้นมาจนมาถึงนโยบายทวงคืนผืน

               ป่าตั งแต่ปี 2557 ไร่หมุนเวียน ซึ่งเป็นระบบการผลิตพื นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์บนที่สูงถูกกล่าวหาว่าเป็น “ไร่

               เลื่อนลอย” ท าลายป่า ด้วยเหตุนี เมื่อเกิดเหตุการณ์หมอกควันและไฟป่า รัฐจึงพุ่งเป้าไปที่พวกเขา กระบวนการ

               จัดการข้อมูลของรัฐก็ยังถูกจ ากัดด้วยทัศนคติดังกล่าว

                       วิธีคิดการจัดการป่าแบบรัฐอ านาจนิยมได้เผยแพร่จนเป็นทัศนคติของสังคม จึงไม่เป็นที่น่าแปลกใจว่า

               ข้อมูลบทบาทของชุมชนที่ทุ่มเทแรงกาย ใจ ร่วมมือจัดการไฟป่าอย่างเต็มที่กลับไม่ปรากฏสู่สาธารณะ เพราะ

               ถูกบดบังด้วยวิธีคิดที่มองชาวบ้านเป็นศัตรูต่อป่า ท าไมภาควิชาการ ภาคสังคมที่ห่วงใยสิ่งแวดล้อมบางส่วนจึง


               พัฒนาข้อเสนอการจัดการหมอกควันและไฟป่าที่ไม่พิจารณาสภาพความเป็นจริงของสังคม เช่น ข้อเสนอ zero
               burning ที่ห้ามชาวบ้านจุดไฟในพื นที่ป่าโดยเด็ดขาด โดยไม่ค านึงว่าไฟเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศป่าผลัดใบ


               และเป็นส่วนส าคัญของการผลิตพื นบ้าน ข้อมูลบนฐานคติที่คลาดเคลื่อนเช่นนี ไม่สามารถลดปัญหาหมอกควัน

               และไฟป่าได้เลย มีแต่โหมกระพือความขัดแย้ง แตกแยกระหว่างชุมชนบนที่สูงกับรัฐและคนเมือง แม้ท้ายที่สุด

               ไฟป่าและหมอกควันจะดับไปจากฤดูฝนที่ย่างกรายเข้ามา แต่ก็พร้อมจะกลับมาลุกโหมใหม่ในฤดูแล้งปีหน้า





                                                          -126-
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158