Page 156 - kpiebook62005
P. 156

ฝุ่นจิ๋วยังมาจากโรงไฟฟ้าเก่า ซึ่งไม่ตรวจวัด PM 2.5 เช่นเดียวกันเตาเผามูลฝอยใหม่และเก่า ตลอดจนเตาเผา

               มูลฝอยติดเชื อ ซึ่งตรวจวัดแต่ปริมาณฝุ่นละอองรวม กทม.มีโรงเผาขยะผลิตไฟฟ้าขนาด 300-500 ตัน โรงขยะ

                                                                                       11
               หนองแขม เป็นแหล่งก าเนิด PM 2.5 กลับไม่พูดถึงการจัดการที่ปลายปล่องอุตสาหกรรม
                       กรีนพีชยังเรียกร้องให้จัดการฝุ่นทุติยภูมิและโรงงานอุตสาหกรรมรอบๆ ที่ปล่อยด้วย ซึ่งขณะนี

               ประเทศไทยไม่มีข้อมูลหรือกฎหมายเพื่อบังคับให้รายงานฝุ่น PM 2.5  ท าให้ไม่สามารถวางแผนป้องกันหรือลด

               การปล่อย PM 2.5 ได้

                       ดังนั น ปัญหาเรื่องข้อมูลของฝุ่นจากโรงงานอุตสาหกรรมขณะนี จึงเป็นเรื่อง การไม่ระบบการวัดข้อมูล

               การปล่อยฝุ่น pm 2.5 จากโรงงานอุตสาหกรรม เพราะรัฐไม่ได้ก าหนดค่ามาตรฐานการปล่อยฝุ่นที่ปล่อง


               โรงงาน เมื่อไม่มีการวัดจึงปรากฏว่าไม่พบปัญหาฝุ่น pm 2.5

                       ปัญหาฝุ่นจากภาคอุตสาหกรรมยังอาจเชื่อมโยงไปสู่ภาคเมืองด้วย จากข้อสังเกตของมูลนิธิบูรณะนิเวศ

               ว่า ฝุ่นควันจากนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดและอื่น ๆ ในภาคตะวันออก และจากฝั่งสมุทรสาคร นอกจากนี ยัง

               พบโรงงานอุตสาหกรรมจ านวนมากที่ใช้ถ่านหินเป็นพลังงานซึ่งไม่ได้อยู่การตรวจสอบผลกระทบจากรัฐ ฝุ่นควัน

               เหล่านนี ลอยไปสมทบกับฝุ่นควันที่อยู่เมืองกรุงเทพฯและปริมณฑล แต่เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลการวัดการปล่อย

               ฝุ่นจากโรงงาน ท าให้ไม่สามารถสรุปได้ว่า ฝุ่น pm 2.5 จากภาคอุตสาหกรรมได้ซ  าเติมฝุ่นควันในเมืองหรือไม่

               เพียงใด

                       สรุปปัญหาฝุ่นควันโรงงานอุตสาหกรรมขณะนี  คือ ขาดการวัดปริมาณและชนิดฝุ่นที่ปลายปล่อง

               โรงงาน ท าให้ขาดข้อมูลปริมาณสารพิษที่โรงงานอุตสาหกรรมสร้างขึ น และไม่มีการจัดทาบัญชีการระบาย

               มลพิษทางอากาศ (PRTR ) จากโรงงานอุตสาหกรรม



               ฝุ่นควันในกรุงเทพฯ และเมืองใหญ่

                       ฝุ่นในกรุงเทพฯ มีที่มาจาก เกิดปรากฏการณ์อากาศปิดแบบโดมความร้อนผกผัน ท าให้ฝุ่นลอยคว้าง

               ในอากาศนานขึ น ด้วยสภาพอาคารสูงมีโอกาสได้รับผลกระทบสูงจากการเคลื่อนตัวของฝุ่น PM 2.5 เพราะฝุ่น

               ลอยตัวต่ าในช่วงเช้า แต่พอเริ่มสาย ฝุ่นจะลอยตัวสูงขึ น


                       สาเหตุฝุ่น PM 2.5 ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล มาจาก รถยนต์ ร้อยละ 55 (ทั งจากการเผาไหม้ที่
               สมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ และจากผ้าเบรก) การเผาไหม้ที่โล่งแจ้ง ร้อยละ 14 ฝุ่นทั่วไปและงานก่อสร้าง ร้อยละ


               9 ฝุ่นข้ามพรมแดน ร้อยละ 6 ฝุ่นจากดินและถนน ร้อยละ 1



               11  ไทยโพสต์, 'เอ็นจีโอ' จวกรัฐเมินแก้มลพิษฝุ่นจากปลายปล่อง จี ถอนร่าง พ.ร.บ.โรงงาน ซ  าเติมปัญหา, วันที่ 31 มกราคม
               2562, https://www.thaipost.net/main/detail/27974



                                                          -129-
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161