Page 161 - kpiebook62005
P. 161

7.  สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนวทางการปรับปรุงการเข้าถึง



                    ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน




               7.1 สรุปผลการศึกษา


               ผลการทบทวนประเภทและรายการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

                       คณะผู้วิจัยได้ท ำกำรทบทวนข้อมูลข่ำวสำรเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภำพที่ควรจัดไว้ให้ประชำชน

               ตรวจดูได้ตำมมำตรำ 9 (8) แห่งพ.ร.บ.ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. 2540 ทั้ง 16 รำยกำร และท ำกำร

               ตรวจสอบหน่วยงำนที่รับผิดชอบข้อมูลแต่ละรำยกำรให้เป็นปัจจุบัน พร้อมทั้งจัดกำรสนทนำกลุ่มย่อยกับภำค

               ประชำสังคมที่ด ำเนินงำนด้ำนปกป้องสิทธิชุมชนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภำพ ตัวแทนชุมชนที่ได้รับ

               ผลกระทบจำกโครงกำรขนำดใหญ่ และนักวิชำกำรด้ำนสิ่งแวดล้อม เพื่อพิจำรณำร่ำงรำยกำรข้อมูลข่ำวสำร

               และระบุควำมต้องกำรของกลุ่มผู้ใช้ในรำยละเอียด ซึ่งผลกำรศึกษำพบว่ำ ประเภทและรายการข้อมูลข่าวสาร

               ภายใต้ประกาศ มีความครอบคลุม เหมาะสม ตามความต้องการของผู้ใช้ แต่ในทำงปฏิบัติยังมีปัญหำในกำร

               เข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรในรำยกำรดังกล่ำว

               ผลการศึกษาหลักการการให้ข้อมูลข่าวสารภาครัฐ

                       คณะผู้วิจัยได้ศึกษำทฤษฎี หลักกำร กำรให้ข้อมูลข่ำวสำรของหน่วยงำนภำครัฐ รวมถึงหลักเกณฑ์และ

               ข้อก ำหนดที่มีอยู่ และกรณีศึกษำที่ดีทั้งในประเทศและต่ำงประเทศ โดยกำรวิจัยเอกสำรและสัมภำษณ์


               ผู้เชี่ยวชำญด้ำนกำรสื่อสำรนโยบำยสำธำรณะ รวมถึงควำมเห็นของกลุ่มผู้ใช้ข้อมูล และได้สรุปเป็นหลักกำรกำร
               ให้ข้อมูลข่ำวสำรที่ดี แบ่งเป็น 3 ด้ำน ได้แก่ และด้ำนกำรน ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ประกอบด้วย 15 ตัวชี้วัด


               ได้แก่ ด้านคุณภาพข้อมูล 1) ข้อมูลถูกต้องครบถ้วน 2) มีกฎหมำย ระเบียบ เข้ำใจชัดเจน 3) เป็นข้อมูล

               พื้นฐำนไม่ถูกปรุงแต่ง 4) อยู่ในระยะเวลำที่เหมำะสมเพื่อรักษำคุณภำพของข้อมูล 5) ควำมเข้ำใจง่ำย 6) ควำม

               ทันเวลำ 7) ควำมตรงกับควำมต้องกำรของผู้ใช้ ด้านการเข้าถึงข้อมูล 8) สะดวกในกำรเข้ำถึง 9) เปิดเผยโดย

               ไม่เลือกปฏิบัติ 10) ไม่มีลิขสิทธิ์ และด้านการน าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ 11) สำมำรถน ำไปใช้ประโยชน์โดย

               เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์สำมำรถประมวลผลได้ 12) ทุกคนมีสิทธิใช้ข้อมูลได้ 13) มีควำมต่อเนื่องในกำรใช้

               ประโยชน์ข้อมูล กำรออกแบบข้อมูลที่ใช้ร่วมกัน 14) มีกระบวนกำรร้องเรียน ตรวจสอบ แก้ไข และ 15) มี

               ควำมคุ้มค่ำ และคณะผู้วิจัยได้จัดท ำพิสัยตัวชี้วัดส ำหรับทั้ง 15 ตัวชี้วัด เพื่อประโยชน์ในกำรใช้ประเมินกำร

               เผยแพร่ข้อมูลข่ำวสำรด้ำนสิ่งแวดล้อมและสุขภำพของหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องต่อไป






                                                          -134-
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166