Page 149 - kpiebook62005
P. 149
คุณภาพระบบและน าที่ผลิต โดยกรมอนามัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือ
สถาบันการศึกษาในท้องถิ่น
- ส าหรับตู้น าหยอดเหรียญ ผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกข้อบัญญัติท้องถิ่น
เรื่องการควบคุมกิจการตู้น าหยอดเหรียญ เพื่อใช้กลไกควบคุมตามพระราชบัญญัติ
สาธารณสุข
- เพื่อสนับสนุนก าลังของท้องถิ่นในการติดตามตรวจสอบคุณภาพน า ควรจัดท าความร่วมมือ
ในการเฝ้าระวังกับเครือข่ายผู้บริโภค สถาบันการศึกษาในท้องถิ่น รวมถึงใช้กลไก
คณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ซึ่งจ าเป็นต้องมีการเสริมความสามารถในการตรวจวัด
คุณภาพเบื องต้น เช่น การสนับสนุนเครื่องมือตรวจสอบ tool kits หรือการอบรมหลักการ
สังเกตน าที่ไม่ได้มาตรฐาน
ข้อมูลสถานการณ์คุณภาพน าบริโภคเป็นข้อมูลภาพรวมระดับประเทศ และไม่มีความ
สม่ าเสมอ ซึ่งไม่สามารถน าไปเฝ้าระวังในระดับท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เสนอให้
- มีการจัดท าข้อมูลรายพื นที่ หรืออย่างน้อยระบุรายเขต และพื นที่เสี่ยง
- ควรมีแผนในการสุ่มตรวจสอบประจ าปี และมีการรายงานผลอย่างต่อเนื่อง
- ในพื นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการออกข้อบัญญัติท้องถิ่นแล้ว ให้ประชาสัมพันธ์
ชี แจงให้ทราบทั่วกัน และควรมีการจัดท าและเผยแพร่ข้อมูลผู้ได้รับใบอนุญาต และผลการ
ตรวจคุณภาพน าเมื่อมีการต่อใบอนุญาตให้ประชาชนในท้องถิ่นรับทราบ
ประเด็นปัญหาด้านการเข้าถึงและน าข้อมูลไปใช้ประโยชน์
ปัจจุบันเครือข่ายผู้บริโภคและผู้บริโภคโดยทั่วไปยังไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลคุณภาพน าดื่มได้
โดยอัตโนมัติและทันท่วงที ยังคงต้องรอหน่วยงานเผยแพร่ หรือสอบถามข้อมูลเป็นครั งๆ
เสนอให้
- หน่วยงานที่ท าการตรวจสอบคุณภาพ เช่น กรมอนามัย มีการประสานกับกลไกระดับพื นที่
อาทิ คณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด และเครือข่ายผู้บริโภค โดยตรง ทั งกระบวนการ
เก็บข้อมูลและการส่งข้อมูลผลการตรวจสอบ
- น าบริโภคที่มีการตรวจสอบแล้ว ให้จัดท าสัญลักษณ์แสดงคุณภาพน าบริโภคได้มาตรฐาน
แสดงเปิดเผยต่อสาธารณะอย่างชัดเจน
ข้อมูลยังคงมีผู้รับผิดชอบหลายส่วนและมีความทันซ้อนกัน หรือไม่รอบด้าน เสนอให้
-122-