Page 146 - kpiebook62005
P. 146
หน่วยงานผู้ผลิตและหน่วยงานภายนอก แต่ส่วนที่พบข้อจ ากัดมากคือระบบประปาที่ด าเนินการโดยองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
ปัจจุบัน กรมอนามัยได้ด าเนินการรับรองระบบน าประปาของหน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ การประปาส่วน
ภูมิภาค 189 แห่ง หมู่บ้าน 172 แห่ง โรงพยาบาล 62 แห่ง และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 51 แห่ง และ
เพื่อให้เพิ่มจ านวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ได้มีการด าเนินงานผ่านระบบการ
พัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านการจัดการคุณภาพน า
บริโภค (Environmental Health Accreditation: EHA 2001-2003) ซึ่งปัจจุบันมีเทศบาลได้รับการรับรอง
EHA ด้านการจัดการน าบริโภค จ านวน 518 แห่ง ในขณะที่มีข้อมูลการด าเนินงานประปาขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นมากกว่า 50,000 แห่งทั่วประเทศ จึงนับเป็นจ านวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ถึงร้อยละ 10
4
ที่เข้าร่วมการตรวจสอบคุณภาพ
ตู้จ าหน่ายน าดื่มหยอดเหรียญ
การควบคุมดูแลตู้จ าหน่ายน าดื่มหยอดเหรียญเป็นอ านาจหน้าที่โดยตรงของหน่วยงานราชการส่วน
ท้องถิ่นในการควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 และ ส านักงาน
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ได้ก าหนดให้ตู้น าหยอดเหรียญอัตโนมัติเป็นสินค้าที่ควบคุมฉลาก
ตามประกาศคณะกรรมการว่าด้วยฉลาก ฉบับที่ 31 (พ.ศ. 2553) ตู้จ าหน่ายน าดื่มหยอดเหรียญเป็นผลิตภัณฑ์
ส าหรับติดตั งกับท่อจ่ายน าประปาเพื่อกรองน าให้สะอาดก าจัดสิ่งปนเปื้อนหรือสิ่งไม่พึงประสงค์ในการดื่มได้แก่
ความขุ่น สี กลิ่น แบคทีเรียบางชนิด และจ าหน่ายให้กับผู้บริโภคโดยผ่านเครื่องอัตโนมัติ แม้ว่าน าประปาที่เป็น
ต้นทางของตู้น าหยอดเหรียญจะมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน แต่กลับพบการปนเปื้อนของแบคทีเรีย
เนื่องจากความไม่สะอาดของภาชนะเก็บน า เครื่องกรองน า และความไม่ถูกสุขลักษณะของวิธีการเก็บน าดื่ม
ที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขได้ด าเนินการมาตรการต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการควบคุมคุณภาพตู้
จ าหน่ายน าดื่ม อาทิ การจัดท าค าแนะน าคณะกรรมการสาธารณสุข เรื่อง แนวทางการควบคุมการประกอบ
กิจการตู้น าหยอดเหรียญ (ประกอบด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับสถานที่ตั ง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณลักษณะตู้น า
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับแหล่งน าและการปรับปรุงคุณภาพน า หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพมาตรฐานน า
บริโภค หลักเกณฑ์ว่าด้วยการบ ารุงรักษาและการท าความสะอาด และหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบันทึกและ
รายงานผล) รวมถึงการจัดท าร่างข้อบัญญัติท้องถิ่น เรื่อง สุขลักษณะการประกอบกิจการตู้น าหยอดเหรียญ
เพื่อเป็นแนวทางแก่ราชการส่วนท้องถิ่นในการออกข้อก าหนดของท้องถิ่นต่อไป อย่างไรก็ตาม การควบคุม
4 ข้อมูลจากการสัมภาษณ์นายแพทย์ดนัย ธีวันดา รองอธิบดีกรมอนามัย และคุณวิโรจน์ วัชรเกียรติศักดิ์ ส านักสุขาภิบาล
อาหารและน า กรมอนามัย วันที่ 17 มิถุนายน 2562
-119-