Page 148 - kpiebook62005
P. 148

น  าดื่มบรรจุขวด

                        น  าดื่มบรรจุขวดเป็นหนึ่งในสินค้าที่ต้องก าหนดวิธีการผลิตเครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตการเก็บ

               รักษาสินค้าตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีหรือจีเอ็มพี (Good Manufacturing Practice : GMP) มีผลบังคับใช้กับ

               ผู้ประกอบการ วันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ส าหรับน  าดื่มหรือน  าบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ต้องมี

               คุณภาพหรือมาตรฐาน ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่61 (พ.ศ.2524) ฉบับที่ 135 (พ.ศ.2543)

               ฉบับที่ 220 (พ.ศ.2544) ฉบับที่256 (พ.ศ.2545) และฉบับที่ 284 (พ.ศ.2547) ผู้ผลิตน  าบริโภคในภาชนะบรรจุ

               ที่ปิดสนิทเพื่อจ าหน่ายต้องปฏิบัติตามวิธีการผลิตเครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษาอาหารที่

               ก าหนดไว้ในบัญชีแนบท้ายประกาศให้ถูกต้อง ซึ่งแบ่งเป็นหมวดต่าง ๆ ได้แก่ สถานที่ตั งและอาคารผลิต


               เครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต แหล่งน  า การปรับคุณภาพน  า ภาชนะบรรจุ สารท าความสะอาดและ

               สารฆ่าเชื อ การบรรจุ การควบคุมคุณภาพมาตรฐาน การสุขาภิบาล บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน และ

               การบันทึกและรายงาน

                        จากรายงานของกรมอนามัย เนื่องจากมีการควบคุมคุณภาพเชิงผลิตภัณฑ์ โดยองค์การอาหารและ

               ยา และมีการตรวจสอบรับรองโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ท าให้ไม่พบปัญหาส าหรับน  าบริโภคในภาชนะ

               บรรจุที่ปิดสนิทมากนัก แต่ส่วนที่ยังคงพบปัญหาคือน  าดื่มบรรจุถังขนาด 20 ลิตร ซึ่งยังพบตัวอย่างที่ไม่ได้

               มาตรฐานถึงร้อยละ 47



               สรุปประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะต่อการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารคุณภาพน  าดื่มของประชาชน

                       ประเด็นปัญหาการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารคุณภาพน  าดื่มของประชาชน สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่

               ประเด็นด้านคุณภาพข้อมูล และประเด็นด้านการเข้าถึงและน าข้อมูลไปใช้ประโยชน์เพื่อความปลอดภัยในการ

               บริโภคน  าดื่มของประชาชน มีรายละเอียดดังนี

               ประเด็นปัญหาด้านคุณภาพข้อมูลและข้อเสนอแนะ


                         ขาดการจัดท าข้อมูลผลการตรวจสอบคุณภาพน  า โดยเฉพาะน  าประปาที่ด าเนินการโดย

                          องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการตรวจสอบคุณภาพตู้น  าหยอดเหรียญ ซึ่งทั งสองกรณี

                          ผู้รับผิดชอบหลักคือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ด าเนินการผลิดน  าประปา และเป็นผู้ออก

                          ใบอนุญาตผู้ประกอบการตู้น  าหยอดเหรียญ จึงควรมีการให้ความสนับสนุนองค์กรปกครองส่วน

                          ท้องถิ่น ดังนี

                          -  ส าหรับน  าประปา สนับสนุนการอบรมการใช้แบบประเมินระบบประปาเบื องต้นให้กับ

                              บุคลากรของท้องถิ่น และสนับสนุนค่าใช้จ่ายหรือสนับสนุนทางเทคนิคการตรวจสอบ





                                                          -121-
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153