Page 147 - kpiebook62005
P. 147
ก ากับการประกอบกิจการตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุขฯ นั น ต้องอาศัยอ านาจของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ใน
การกวดขันด้านสุขลักษณะตามข้อบัญญัติท้องถิ่น และกระตุ้นใหผู้ประกอบกิจการด าเนินการขออนุญาต โดย
ผู้ประกอบการจะต้องมายื่นขออนุญาตจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื นที่ประกอบกิจการ
อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติ ยังพบผู้ประกอบการที่ไม่ได้จดทะเบียนจ านวนมาก ในปี 2558
คณะกรรมการองค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชน (คอบช.) ร่วมกับมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
(มพบ.) และเครือข่ายองค์กรผู้บริโภคกรุงเทพมหานคร ได้ส ารวจตู้น าดื่มหยอดเหรียญในพื นที่กรุงเทพฯ 18
เขต รวม 855 ตู้ พบกิจการตู้น าดื่มหยอดเหรียญไม่มีใบอนุญาตถึงร้อยละ 91.76 และสถานที่ตั งตู้น าไม่
เหมาะสม เช่น อยู่ใกล้บริเวณที่มีฝุ่นมาก ร้อยยละ 76.3 อยู่ใกล้แหล่งระบายน าเสีย/น าขัง ร้อยละ 28.3 อยู่
ใกล้ที่ทิ งขยะ ร้อยละ 22 เป็นต้น หลังจากมีผลการศึกษา เครือข่ายได้จัดประชุมหารือแนวทางการแก้ไขกับ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ส านักอนามัย กรุงเทพมหานคร ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา ส านักงาน
คุ้มครองผู้บริโภค รวมถึง ส านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แต่จนถึงปี 2560 เครือข่ายฯ ได้ท าการ
ส ารวจตู้น าดื่มหยอดเหรียญซ า โดยด าเนินการในกรุงเทพมหานคร ทั ง 50 เขต พบว่า ปัญหาตู้น าดื่มหยอด
เหรียญยังคงไม่ได้รับการแก้ไข เพราะยังคงมีตู้น าดื่มหยอดเหรียญที่ไม่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการ กว่าร้อย
ละ 90 เครือข่ายจึงติดต่อและส่งข้อมูล รวมถึงข้อเสนอแนะไปยังหน่วยงานรับผิดชอบอีกครั ง พร้อมทั งท า
หนังสือขอเข้าพบผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เนื่องจากเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยของ
5
ผู้บริโภคในวงกว้าง
ด้านส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ได้มีการตรวจสอบการจัดท าฉลากของผู้
ประกอบธุรกิจตู้น าดื่มหยอดเหรียญร่วมกับเครือข่ายฯ พบว่าส่วนใหญ่ยังจัดท าฉลากไม่ถูกต้องหรือแสดงไม่
ชัดเจน ซึ่งตู้น าดื่มหยอดเหรียญเป็นสินค้าที่ควบคุมฉลาก ก าหนดให้แต่ละตู้ต้องแสดงรายละเอียดค าแนะน า
และค าเตือนที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของผู้บริโภค ได้แก่ 1) ข้อแนะน าในการใช้ 5 ข้อคือ 1.1) ต้องดูความ
สะอาดของหัวจ่ายน า 1.2) ต้องหลีกเลี่ยงการใช้บริการจากตู้น าหยอดเหรียญอัตโนมัติทีมีลักษณะไม่ถูก
สุขอนามัย 1.3) ต้องใช้ภาชนะที่สะอาดในการบรรจุน า 1.4) ต้องหลีกเลี่ยงการดื่มน าจากตู้น าดื่มหยอดเหรียญ
อัตโนมัติที่มีสี กลิ่น หรือรสผิดปกติ 1.5) ไม่ควรน าภาชนะที่เคยบรรจุของเหลวชนิดอื่นมาบรรจุน า และ 2) ระบุ
วันเดือนปีที่เปลี่ยนไส้กรองแต่ละชนิด 3) ในค าเตือนต้องระบุว่า "ระวังอันตราย หากไม่ตรวจสอบวันเดือนปีที่
เปลี่ยนไส้กรอง และตรวจสอบคุณภาพน า
5 ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ คุณมลฤดี โพธิ์อินทร์ นักวิจัย มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค วันที12 มิถุนายน 2562 และการประชุมรับฟัง
ความคิดเห็นแนวทางการปรับปรุงการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน: กรณีศึกษาการ
เข้าถึงข้อมูลความปลอดภัยของน้าดื่ม และสถานการณ์มลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็ก วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562
-120-