Page 145 - kpiebook62005
P. 145

จากข้อมูลระบุว่า สถานการณ์คุณภาพน  าบริโภคมีแนวโน้มดีขึ นเป็นล าดับ แต่ในภาพรวมยังอยู่ใน

               ระดับที่ต่ า โดยพบตัวอย่างที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่ถึงครึ่ง ในปี 2551 พบตัวอย่างผ่านเกณฑ์คุณภาพน  า

               บริโภคร้อยละ 25.33 ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 74.67 ในขณะที่ปี 2559 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 43.6 ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อย

               ละ 56.4 คิดเป็นค่าเฉลี่ย 10 ปี เพียงร้อยละ 32.1 การปนเปื้อนที่พบมากที่สุดเป็นการปนเปื้อนด้านแบคทีเรีย

               และข้อมูลร้อยละของคุณภาพน  าบริโภคที่ได้มาตรฐานจ าแนกตามประเภทแหล่งน  า พบว่า ทุกประเภทแหล่ง

               น  าพบตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดยแหล่งน  าที่ควรเฝ้าระวังได้แก่ น  าบ่อตื น น  าบาดาล และประปา

               ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น




               กระบวนการตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภาพน  าบริโภคและข้อจ ากัดในปัจจุบัน

                      การตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภาพน  าบริโภค เป็นการก ากับดูแล และบริหารระบบจัดการบริการน  า

               บริโภค โดยการเฝ้าระวังทั งเรื่องโครงสร้างด้านสุขาภิบาล และคุณภาพน  าด้านกายภาพ เคมี และชีวภาพ ซึ่ง

               เป็นการรักษาคุณภาพการผลิต และส่งเสริมการปรับปรุงคุณภาพน  าอย่างต่อเนื่อง น  าประเภทที่มีการให้บริการ

               และมีการบริโภคกันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน ได้แก่ น  าประปา น  าดื่มบรรจุขวด และน  าจากตู้จ าหน่ายน  าดื่ม

               หยอดเหรียญ มีรายละเอียดการตรวจสอบเฝ้าระวังและปัญหาที่พบ ดังนี

                      น  าประปา

                      เนื่องจากการจัดบริการน  าสะอาดในชุมชนเป็นภารกิจหนึ่งซึ่งรัฐจะต้องส่งเสริมให้ประชาชนมีน  า

               สะอาดเพื่อเป็นน  าดื่มและใช้อย่างเพียงพอ จึงท าให้ที่ผ่านมามีหน่วยงานที่จัดหาน  าส าหรับชุมชนจ านวนมาก

               เช่น กรมทรัพยากรน  าบาดาล และส านักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท เป็นต้น และเมื่อมีการกระจายอ านาจสู่

               ท้องถิ่น ได้มีการด าเนินงานประปาโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ น ทั งประปาเมืองและประปาชนบท

               คู่มือการจัดการคุณภาพน  าบริโภค กรมอนามัย ระบุว่าการสุ่มเก็บตัวอย่างน  าประปาตรวจวิเคราะห์ทางด้าน

               กายภาพ เคมี และชีวภาพ จะด าเนินการโดย (1) เก็บตัวอย่างจุดต้นท่อระบบจ่ายน  า สุ่มเก็บที่ก๊อกของท่อจาก

               หอถังสูงก่อนจ่ายน  า และ (2) เก็บตัวอย่างจุดปลายท่อระบบจ่ายน  า สุ่มเก็บที่จุดปลายสุดของท่อหลักจ่าย

               น  าประปา 5 จุด ต่อ 1 ระบบ กรณีเป็นระบบประปาเทศบาลนคร เทศบาลเมือง และจ านวน 1 จุด ส าหรับ


               ระบบประปาหมู่บ้าน หรือประปาเทศบาลต าบล โดยสุ่มเก็บที่จุดเสี่ยง เช่น โรงเรียน  ตลาด  สถานที่สาธารณะ
               อื่น ๆ  หรือบ้านผู้ใช้น  า โดยใช้แผนที่ระบบเส้นท่อการจ่ายน  าประปา ประกอบในการก าหนดจุดสุ่มเก็บตัวอย่าง


               น  า อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติเนื่องจากการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน  ามีค่าใช้จ่าย และต้องด าเนินการอย่าง

               สม่ าเสมอ ท าให้ในขณะที่การประปาส่วนภูมิภาคและการประปานครหลวง มีระบบติดตามคุณภาพน  าทั งโดย








                                                          -118-
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150