Page 141 - kpiebook62005
P. 141

องค์การอนามัยโลกและยูนิเซฟให้ค าจ ากัดความของ น  าบริโภค (Drinking water) ว่า หมายถึง “น  า

               ซึ่งไม่มีสารเคมีหรือสารพิษในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพเจือปน และปราศจากกลิ่น สี และรสที่ไม่เป็นที่

                       1
                                                                   2
               ยอมรับ”  กรมอนามัยแบ่งแหล่งน  าบริโภค แบ่งเป็น 6 ประเภท  ได้แก่
                   1)  น  าประปา เป็นน  าที่น ามาจากแหล่งน  าธรรมชาติ เช่น น  าผิวดิน น  าใต้ดิน น ามาผ่านขั นตอนการ

               ปรับปรุงคุณภาพเพื่อผลิตให้เป็นน  าสะอาดตามหลักวิชาการและวิธีอันเหมาะสมแล้วจ่ายน  าที่ผลิตได้ให้แก่

               ประชาชน โดยการจ่ายไปตามท่อผ่านมาตรวัดตลอด 24 ชั่วโมง

                   2)  น  าบ่อบาดาล เป็นน  าที่เกิดจากน  าฝนที่ตกลงมาไหลซึมลงดิน บางส่วนจะถูกดินดูดซับไว้ ส่วนที่เหลือ

               จะไหลซึมต่อไปจนกระทั่งถึงชั นดินหรือหิน น  าในชั นหินส่วนนี เรียกว่าน  าบาดาล การน าน  าบาดาลขึ นมาบริโภค


               ต้องใช้วิธีการเจาะสูบซึ่งมีท่อกรองช่วยกรองทรายมิให้ไหลเข้าสู่บ่อและสูบน  าขึ นมาใช้

                   3)  น  าบ่อตื น เป็นน  าใต้ดินที่ขุดลึกจากพื นดินลงไปตั งแต่ 3-10 เมตร ขึ นอยู่กับระดับน  าใต้ดินในพื นที่ น  า

               ในบ่อมาจากการไหลซึมเข้ามาตามรูพรุนของขอบบ่อหรือก้นบ่อ คุณภาพของน  าอยู่ในเกณฑ์พอใช้ ไม่ดีเท่าน  า

               บาดาล การสร้างบ่อน  าตื นที่ถูกหลักสุขาภิบาล ที่ตั งบ่อต้องห่างจากแหล่งโสโครก เช่น ส้วม น  าเสีย ที่ทิ งขยะ

               ไม่น้อยกว่า 30 เมตร วางขอบบ่อคอนกรีตซ้อนกันขึ นมาสูงจากพื น 50-80 เซนติเมตร อัดกรวดโดยรอบขอบ

               นอกบ่อและก้นบ่อ ยารอยต่อของขอบคอนกรีตในระยะ 3 เมตรจากพื นดิน เนื่องจากในระยะนี เชื อโรคในดินยัง

               อาศัยอยู่ได้ และเทคอนกรีตบนพื นดินรอบขอบนอกของบ่อ เพื่อไม่ให้น  าสกปรกไหลลงบ่อน  า

                   4)  น  าฝน เป็นน  าธรรมชาติจากฟ้า การเก็บกักน  าฝนต้องค านึงถึงความสะอาดของบรรยากาศ ดังนั น

               วิธีการเก็บกักควรเก็บหลังจากที่ให้ฝนตกไประยะหนึ่ง เพื่อให้มลพิษในอากาศถูกชะไปก่อน นอกจากนั นหลังคา

               รางน  า ที่รองรับน  าฝน รวมทั งภาชนะเก็บกักต้องมีการท าความสะอาดเป็นประจ า

                   5)  น  าบริโภคในภาชนะบรรจุปิดสนิท เป็นน  าที่ผ่านกรรมวิธีการปรับปรุงคุณภาพและบรรจุลงในภาชนะ

               ที่มีฝาหรือจุกปิดสนิท และน  าในภาชนะบรรจุนั นจะต้องมีคุณภาพมาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข

               โดยแหล่งน  าที่น ามาใช้ในการผลิตอาจเป็นน  าประปา หรือแหล่งน  าตามธรรมชาติ

                   6)  น  าจากตู้จ าหน่ายน  าดื่ม หมายถึง น  าที่ผ่านกรรมวิธีการปรับปรุงคุณภาพโดยผู้ใช้บริการน าภาชนะมา

               บรรจุและมีการจ่ายเงินเป็นค่าน  า ณ สถานที่จ่ายน  า









               1  Guidelines for Drinking‑water Quality (PDF) (Report) (4 ed.). World Health Organization. 2017. p. 631. ISBN

               978-92-4-154995-0.
               2  การจัดการคุณภาพน  าบริโภค http://foodsan.anamai.moph.go.th/download/D_EHA/2557/Instructors/



                                                          -114-
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146