Page 139 - kpiebook62005
P. 139
เกี่ยวข้องกับมาตรา 9(8) ทั้ง 16 ประเด็น ได้มีการจุดท าชุดข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพแบบ
องค์รวม โดยมีการวางแผนข้อมูล การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ในกรณีรายการข้อมูลข่าวสารที่เคยมีการวินิจฉัยแล้วจากส านักงาน สขร. ว่าเปิดเผยได้ เช่น EIA ใบ
อนุญาตต่าง ๆ ในขณะที่เอกสาร เพื่อให้ประชาชนอ้างอิงต่อหน่วยงาน และหน่วยงานรับทราบ ควรจะ
ได้ด าเนินโดยไม่ต้องมีการอุทธรณ์ซ้ า แต่หน่วยงานยังไม่เปิดเผยในรูปแบบไฟล์ดิจิตอลแต่ให้ไปถ่าย
ส าเนาที่ส านักงานซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูงและยุ่งยากในการเดินทางไปถึงข้อมูลข่าวสาร และไม่มีการเปิดเผย
ในช่วงการให้ความเห็น
การติดตามตรวจสอบความถูกต้องและแม่นย า หรือประโยชน์ของข้อมูลยังเป็นเรื่องภายในหน่วยงาน
นั้น ๆ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสร้างข้อกังขาเกี่ยวกับขั้นตอนและผู้ติดตามตรวจสอบหรือประเด็น
อื่น ๆ ที่น่าจะเปิดเผยหรือโปร่งใสตามหลักวิชาการหรือมาตรฐานสากล
3) ด้านผู้ใช้ข้อมูล
ขาดการประชาสัมพันธ์เครือข่ายภาคประชาสังคมเกี่ยวกับการใช้สิทธิตามกฎหมาย โดยเฉพาะเรื่อง
การเขียนค าร้องให้ตรงประเด็นและการใช้มาตรา 9(8) แนบค าร้อง ดังนั้นภาคประชาชนจึงไม่ใช้กลไก
สิทธิดังกล่าวเป็นผลให้หน่วยงานไม่ตื่นตัวในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ประกอบกับไม่ทราบบทบาท
และอ านาจหน้าที่ของส านักงานสขร. ในการร้องขอและเร่งรัดข้อมูลแทนประชาชนได้ด้วยจึงท าให้
ปริมาณข้อร้องเรียนมีน้อยกว่าความต้องการที่แท้จริง
การจัดท าฐานข้อมูลในปัจจุบันด าเนินงานโดยภาครัฐเป็นหลัก ซึ่งมักจะไม่ได้มีกระบวนการมีส่วน
ร่วมกับภาคประชาสังคมและภาคอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นข้อมูลถูกจัดท าขึ้นโดยยังไม่มีการพิจารณา
บริบทของท้องถิ่นและความต้องการใช้งานของข้อมูลจากภาคประชาสังคมและภาคอื่น ๆ หรือไม่
เป็นไปตามมาตร ฐานสากล
-112-