Page 11 - kpiebook62005
P. 11
3) ตรวจสอบกำรเผยแพร่ข้อมูล กำรเข้ำถึงข้อมูล และกำรน ำข้อมูลไปใช้ในรำยกำรที่ท ำกำรปรับปรุง
และระบุปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรคในกำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรของประชำชน
3.1) คณะผู้วิจัยท าการสุ่มตรวจสอบข้อมูลในรายการที่ได้รับการปรับปรุงแล้วจากข้อ (1) ร่วมกับหลักการที่
เหมาะสมจากข้อ (2) โดยการทดลองเข้าถึงข้อมูลของแต่ละหน่วยงานที่รับผิดชอบและระบุจุดแข็งและ
จุดอ่อนในการให้ข้อมูลข่าวสาร
3.2) ท าการศึกษาและตรวจสอบการเผยแพร่ การเข้าถึง และการน าข้อมูลไปใช้ โดยใช้กรณีศึกษาประเด็น
ข้อมูลสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่ส าคัญ ทั้งในกรณีปกติ เช่น การให้ข้อมูลข่าวสารในเรื่องคุณภาพน้ าดื่ม
คุณภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมด้านต่าง ๆ ในเขตควบคุมมลพิษ การจัดท าและเผยแพร่รายงาน
สถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศ และกรณีวิกฤต เช่น การให้ข้อมูลข่าวสารอุบัติภัยจาก
สารเคมีรั่วไหล หรือภาวะวิกฤตทางคุณภาพอากาศ เป็นต้น
3.3) คณะผู้วิจัยท าการวิเคราะห์ข้อมูล และระบุปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรคในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้าน
สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน
4) จัดท ำข้อเสนอแนวทำงกำรปรับปรุงกำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภำพของ
ประชำชน และน ำเสนอต่อหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
4.1) จัดเวทีเสวนาผลการศึกษากับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งผู้รับผิดชอบข้อมูล และผู้ใช้ข้อมูล เพื่อรับฟัง
ข้อเสนอแนะ และร่วมพัฒนาแนวทางในการปรับปรุงการด าเนินงานด้านการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
4.2) วิเคราะห์ผลการวิจัย ประกอบกับข้อคิดเห็นในการเสวนา และจัดท าข้อเสนอแนวทางการขับเคลื่อน
การปฏิรูปประเทศด้านการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน เสนอ
ต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการและคณะท างานปฏิรูประบบการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1.4 ระยะเวลำโครงกำร
12 เดือน ระหว่างเวลา มิถุนายน 2561- มิถุนายน 2562
-6-