Page 9 - kpiebook62005
P. 9
2) ศึกษาทฤษฎี หลักการ การให้ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานภาครัฐ และกรณีศึกษาที่ดีในการเข้าถึง
ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ และ
ระบุหลักการที่เหมาะสมส าหรับประเทศไทย
3) ตรวจสอบการเผยแพร่ข้อมูลโดยหน่วยงานที่รับผิดชอบข้อมูล การเข้าถึงข้อมูล และการน าข้อมูล
ไปใช้โดยผู้ใช้ข้อมูลในรายการที่ท าการปรับปรุง และระบุปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรคในการเข้าถึง
ข้อมูลข่าวสารของประชาชน
4) จัดท าข้อเสนอแนวทางการปรับปรุงการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของ
ประชาชน และน าเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ขอบเขตกำรวิจัย
ส ารวจองค์ความรู้และจัดท าข้อเสนอแนวทางเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศในประเด็นกำรบริหำร
รำชกำรแผ่นดิน ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 257 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
โดยเฉพาะในหัวข้อดังต่อไปนี้
1) ให้มีการน าเทคโนโลยีที่เหมำะสมมำประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินและการจัดท า
บริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดิน และเพื่ออ านวยความสะดวกให้แก่
ประชาชน
2) ให้มีกำรบูรณำกำรฐำนข้อมูลของหน่วยงำนของรัฐทุกหน่วยงานเข้าด้วยกัน เพื่อให้เป็นระบบ
ข้อมูลเพื่อการบริหารราชการแผ่นดินและการบริการประชาชน
3) ให้มีการปรับปรุงและพัฒนำโครงสร้ำงและระบบกำรบริหำรงำนของรัฐและแผนก าลังคน
ภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ๆ โดยต้องด าเนินการให้เหมาะสมกับ
ภารกิจของหน่วยงานของรัฐแต่ละหน่วยงานที่แตกต่างกัน และ
4) ให้มีกำรปรับปรุงระบบกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐให้มีความคล่องตัว เปิดเผย ตรวจสอบได้และมี
กลไกในกำรป้องกันกำรทุจริตทุกขั้นตอน
นอกจากนั้น แนวทางการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ยังสอดคล้องกับข้อเสนอของคณะท ำงำนปฏิรูประบบกำรบริหำร
จัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม (แต่งตั้งโดยคณะอนุกรรมการบูรณาการและขับเคลื่อนการปฏิรูป
เชิงระบบและโครงสร้าง เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2560) โดยเฉพาะในด้านวิธีปฏิบัติของหน่วยงำนภำครัฐที่มี
ธรรมำภิบำลสิ่งแวดล้อม ในการส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การเข้าถึงการตัดสินใจของรัฐและการมีส่วน
-4-