Page 45 - kpib28626
P. 45

อย่างไรก็ตาม การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทยในปัจจุบัน กอปร
                  ด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง บริหารราชการส่วนภูมิภาค และบริหารราชการส่วน
                  ท้องถิ่น ซึ่งถือเป็นหัวใจส�าคัญของการบริหารราชการแผ่นดินแล้วในปัจจุบันยังมีการจัดตั้ง

                  องค์กรของรัฐในรูปแบบที่หลากหลายในจากการมีส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ เช่น องค์การ
                  มหาชน ส�านักงานกองทุนต่าง ๆ องค์กรอิสระ และองค์กรที่รัฐธรรมนูญก�าหนดขึ้น เป็นต้น

                  ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า การบริหารราชการแผ่นดินเป็นตัวจักรส�าคัญในการพัฒนาและขับเคลื่อน
                  ประเทศ (ส�านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2558: 1) ดังนั้น หากการบริหารราชการ
                  แผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลแล้วย่อมส่งผลให้ประเทศมีความมั่นคง

                  มั่งคั่ง และยั่งยืน ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้ก�าหนด
                  ให้การจัดระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทยออกเป็น 3 ส่วน รายละเอียดดังนี้




                         1. การบริหารราชการส่วนกลาง

      บริบทการเปลี่ยนแปลงท้องถิ่นไทย    (Centralization) ที่รวมอ�านาจการตัดสินใจ การก�าหนดนโยบาย การวางแผนการจัดสรร
                         การบริหารราชการส่วนกลางเป็นการบริหารราชการแผ่นดินตามหลักการรวมอ�านาจ



                  งบประมาณ การควบคุมตรวจสอบ และการบริหารราชการในกิจการส�าคัญไว้ให้เป็นภาระรับ

                  ผิดชอบของหน่วยงานต่าง ๆ ที่สังกัดราชการบริหารส่วนกลาง การจัดระเบียบบริหารราชการ
                  ส่วนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้จ�าแนก
                  การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ก�าหนดให้มีส่วนราชการดังนี้ (อุดม ทุมโฆสิต, 2557:

                  508)

                         (1)    ส�านักนายกรัฐมนตรี

                         (2)    กระทรวงหรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง กอปรไปด้วย กระทรวงต่างๆ

                                โดยมีกระทรวงมหาดไทยท�าหน้าที่ก�ากับดูแล สนับสนุนการท�างานของ
                                องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                         (3)    ทบวงซึ่งสังกัดส�านักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง


                         (4)    กรมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และมีฐานะเป็นกรม ซึ่งสังกัดหรือไม่
                                สังกัดส�านักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ที่สนับสนุนการท�างานและ

                                น�านโยบายของรัฐบาล กระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ ไปปฏิบัติ






                                                       หน้า 44
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50