Page 37 - kpib28626
P. 37

ในประเทศไทยภายใต้กรอบของกฎหมาย ได้ก�าหนดให้องค์กรปกครองท้องถิ่นมีส่วนเกี่ยวข้อง
                  กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ดังที่พระราชบัญญัติก�าหนดแผนและขั้นตอนการกระจา
                  ยอ�านาจให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 ได้ก�าหนดไว้ว่า “...ให้มีอ�านาจ

                  และหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของ
                  ตนเองด้านการสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อย

                  โอกาส...” ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องเล็งเห็นถึงความส�าคัญด้านการพัฒนาคุณภาพ
                  ชีวิตผู้สูงอายุด้วย

                         3. ความท้าทายด้านเทคโนโลยี (Disruptive Technology)


                         ปัจจุบันมีการน�าเทคโนโลยีมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพในหลายด้าน เช่น เทคโนโลยี
                  ทางการเกษตร เพื่อการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพ เทคโนโลยีทางการตลาด
                  เทคโนโลยีในการผลิต เป็นต้น แต่ทั้งนี้เทคโนโลยีเป็นเรื่องยากต่อการเรียนรู้เองของประชาชน

                  ระดับรากหญ้าที่อยู่ในท้องถิ่น จ�าเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องศึกษาและ
      บริบทการเปลี่ยนแปลงท้องถิ่นไทย  ประชาชนสามารถเรียนรู้และเข้าใจการใช้เทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง
                  สนับสนุนเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับบริบทของประชาชนในท้องถิ่น      เพื่อการส่งเสริมให้




                         ส�าหรับ เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก (Disruptive technologies) คือเทคโนโลยีที่มีความ

                  ก้าวหน้า และสามารถเข้ามาเปลี่ยนรูปแบบการด�าเนินชีวิต การประกอบธุรกิจ และเศรษฐกิจ

                  โลก โดยในรายงานของ McKinsey Global Institute ได้ระบุเทคโนโลยี 12 ประเภท ที่จะ
                  เข้ามามีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงโลก ได้แก่ (1) อินเทอร์เน็ตไร้สาย (2) เทคโนโลยีอัตโนมัติ
                  ในด้านการวิเคราะห์ (3) Internet of Things (4) Cloud Computing (5) เทคโนโลยีหุ่น

                  ยนต์ (6) ยานพาหนะไร้คนขับหรือกึ่งไร้คนขับ (7) เทคโนโลยีชีวภาพ (genomics) (8) อุปกรณ์
                  หรือระบบกักเก็บพลังงาน (9) เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ (10) เทคโนโลยีวัสดุชาญฉลาด

                  (11) เทคโนโลยีส�ารวจและขุดเจาะน�้ามัน (12) เทคโนโลยีพลังงานทดแทน  โดยเทคโนโลยี
                  ที่เหล่านี้จะท�าลายอุปสรรคที่มนุษย์จะเข้าถึงการศึกษา การบริการสาธารณสุข อีกทั้งการปฏิวัติ
                  ด้านดิจิทัลจะท�าให้เกิดการสร้างงานอย่างมหาศาล และในทางกลับกันก็จะท�าลายต�าแหน่ง

                  งานรูปแบบเดิมออกไป การที่ท้องถิ่นจะสามารถลดต้นทุนในการผลิตได้ คือ การคิดค้น
                  นวัตกรรมขึ้นมาเองในการผลิต การตลาด หรือ การบริหารจัดการ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย

                  ไทยแลนด์ 4.0 ที่จะต้องเริ่มด้วยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
                  ที่มีอยู่แล้ว หรือการคิดค้นเทคโนโลยีมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งต้องอาศัยการกระตุ้นจาก
                  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ, 2016)






                                                       หน้า 36
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42