Page 38 - kpib28626
P. 38
อย่างไรก็ตาม การที่จะบรรลุเป้าหมายของการก้าวทันเทคโนโลยี ในบริบทของท้อง
ถิ่นจะต้องค�านึงถึงความเหมาะสมกับวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของท้องถิ่น เช่น ท้องถิ่นที่มีความ
โดเด่นในเรื่องกลุ่มอาชีพการผลิตสินค้า สามารถน�าเอาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการผลิตสินค้า
และบริการของถิ่น ท้องถิ่นที่มีความโดเด่นเรื่องสถานที่ท่องเที่ยว ธรรมชาติที่สวยงาม วิถีชีวิต
เฉพาะสามารถน�าเอาเทคโนโลยีมาช่วยในการบอกเล่าเรื่องราวที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะของท้อง
ถิ่น ประชาสัมพันธ์ท้องถิ่นผ่านช่องทางต่างๆ องค์ปกครองส่วนท้องถิ่นเองจะต้องมีอุปกรณ์ที่มี
ความพร้อม เช่น (1) มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีคุณภาพสูงสามารถใช้ในการตัดต่อ VDO เพื่อ
การประชาสัมพันธ์ ตัดต่อป้ายประชาสัมพันธ์ (2) มีเว็บไซต์ในที่เป็นขององค์กรปกครองส่วน
ท้อง ที่นอกจากจะเป็นการประชาสัมพันธ์รายงานการปฏิบัติงาน ความก้าวหน้าของท้องถิ่น
แล้ว ยังเป็นแหล่งรวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเอง ตลอดจนการประกาศยกย่องเชิศชู
บุคคล หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ชมรม ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้อง
ถิ่น เป็นต้น ตลอดจนมีสัญญาณอินเตอร์เน็ตที่ความเร็วสูง มีความพร้อมทางด้านบุคลากร
บริบทการเปลี่ยนแปลงท้องถิ่นไทย
ภายในองค์ปกครองส่วนท้องถิ่น ส�าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ยังไม่มีความพร้อมใน
การลงทุนดังกล่าวก็ควรที่จะขอความอนุเคราะห์ ค�าแนะน�าจากสถาบันการศึกษาภายในพื้นที่
หรือจ้างที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญ การลงทุนด้านเทคโนโลยีปัจจุบันย่อมมีค่าใช้จ่ายค่อนข้าง
สูง แต่หากค�านึงถึงความคุ้มค่าในอนาคต ผลประโยชน์ก็ย่อมเกิดกับองค์กรปกครองส่วนท้อง
ถิ่น ประชาชนในพื้นที่
ในการด�าเนินการขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่จะสามารถท�าให้ประสบความส�าเร็จ
ปัจจัยที่น�าไปสู่ความส�าเร็จ วสันต์ เหลืองประภัสร์, นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ และ เกรียงชัย
ปึงประวัติ (2557: 428-431) ได้เสนอ Collaborative Governance Model ไว้อย่างน่า
สนใจ โดยใช้ในภาษาไทยว่า “ตัวแบบการบริการกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน” โดยเขาได้
เสนอไว้ว่า เงื่อนไขพื้นฐานที่ส�าคัญของการบริการกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน คือ
1) การริเริ่มความร่วมมือ กล่าวคือ เป็นการเปิดพื้นที่การท�างานร่วมกันที่ริเริ่มโดย
หน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ โดยวัตถุประสงค์ของการที่หน่วยงานภาครัฐริเริ่ม
การร่วมมือกันท�างานกับภาคส่วนอื่น ๆ ก็เป็นไปเพื่อขับเคลื่อนภารกิจให้บรรลุ
หน้า 37