Page 114 - 23464_Full text
P. 114

113



                                                                       123
                   เช่นนี้ท าให้มีบัตรเลือกตั้งจ านวนมากถูกพิจารณาเป็นบัตรเสีย  แต่เนื่องจากการวินิจฉัยเช่นนี้เป็น
                   ตัวแปรคงที่ในการเลือกตั้งของไทยนับตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมาจึงกล่าวได้ว่าตัวแปรนี้ไม่ได้ท าให้เกิด

                   ความเบี่ยงเบนของจ านวนบัตรเสียในการเลือกตั้งแต่ละครั้งแต่อย่างใด ดังนั้น ภายใต้ข้อจ ากัดใน
                   ปัจจุบันที่ไม่มีดัชนีตัวอื่นที่สมบูรณ์กว่านี้ การใช้บัตรเสียในการเปรียบเทียบความยากง่ายของระบบ
                   เลือกตั้งจึงเป็นวิธีวิเคราะห์ที่สมเหตุสมผลและเป็นระบบที่สุด

                          จากการศึกษาของผู้วิจัยพบว่าในอดีตที่ผ่านมา จ านวนบัตรเสียของการเลือกตั้งไทยระหว่างปี
                   2544-2562 มีดังนี้ (ดูตารางที่ 20)



                     ตารางที่ 20: เปรียบเทียบบัตรเสียจากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 ถึง 2562


                                                          จ านวนบัตรเสีย            จ านวนบัตรเสีย
                      การเลือกตั้ง  ระบบเลือกตั้ง
                                                       เขต         บัญชีรายชื่อ      รวมสองระบบ

                        2544           2540         2,992,081        745,829          3,737,910

                                                    (10.01%)         (2.49%)           (6.25%)

                        2548           2548         1,938,590        935,586          2,874,176

                                                     (5.99%)         (2.89%)           (4.44%)

                        2550           2550          837,775        1,823,436         2,661,211

                                                     (2.56%)         (5.56%)           (4.06%)

                        2554           2550         2,040,261       1,726,768         3,767,029

                                   (แก้ไขเพิ่มเติม)   (5.79%)        (4.90%)           (5.345%)


                        2562           2560         2,137,762           -             2,137,762
                                                     (5.58%)                           (5.58%)


                        ที่มา: ส านักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (2544, 2548, 2550, 2554, 2562)










                   123  ปริญญา เทวานฤมิตรกุล, วิจัยประเมินผลการจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ.
                   2562 (กรุงเทพฯ: ส านักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง 2565); เครือข่ายเอเชียเพื่อการเลือกตั้งเสรีหรือแอนเฟรล,
                   การเลือกตั้งทั่วไปของประเทศไทย พ.ศ. 2562: โอกาสที่หลุดลอยไปส าหรับการกลับสู่ประชาธิปไตย, รายงานฉบับ
                   สมบูรณ์ของคณะผู้สังเกตการณ์การเลือกตั้งระหว่างประเทศของแอนเฟรลในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2562 ของ
                   ประเทศไทย (กรุงเทพฯ: แอนเฟรล, 2562).
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119