Page 219 - 23154_Fulltext
P. 219

214


                       ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา ซึ่งในจ านวนนี้ต้องมีสมาชิกวุฒิสภาเห็นชอบด้วยไม่น้อยกว่า 1 ใน 3

                       ของจ านวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภา
                              (4) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงล าดับมาตรา โดยการออกเสียงในวาระที่สองนี้ให้
                       ถือเสียงข้างมากเป็นประมาณ แต่ในกรณีที่เป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมที่ประชาชนเป็นผู้เสนอต้อง

                       เปิดโอกาสให้ผู้แทนของประชาชนที่เข้าชื่อกันได้แสดงความคิดเห็นด้วย

                              (5) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้ 15 วัน เมื่อพ้นก าหนดนี้แล้วให้รัฐสภา
                       พิจารณาในวาระที่สามต่อไป
                              (6) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย

                       และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวน
                       สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา โดยในจ านวนนี้ต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากพรรค

                       การเมืองที่สมาชิกมิได้ด ารงต าแหน่งรัฐมนตรี ประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือรองประธานสภา
                       ผู้แทนราษฎร เห็นชอบด้วยไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของทุกพรรคการเมืองดังกล่าวรวมกัน และมีสมาชิก

                       วุฒิสภาเห็นชอบด้วยไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจ านวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภา
                              (7) เมื่อมีการลงมติเห็นชอบตาม (6) แล้ว ให้รอไว้ 15 วัน แล้วจึงน าร่างรัฐธรรมนูญแก้ไข

                       เพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และให้น าความในมาตรา 81 มาใช้บังคับโดยอนุโลม
                              (8) ในกรณีร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมหมวด 1 บททั่วไป หมวด 2

                       พระมหากษัตริย์ หรือหมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ หรือเรื่องที่เกี่ยวกับคุณสมบัติหรือลักษณะ
                       ต้องห้ามของผู้ด ารงต าแหน่งต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ หรือเรื่องที่เกี่ยวกับหน้าที่หรืออ านาจของศาลหรือ

                       องค์กรอิสระ หรือเรื่องที่ท าให้ศาลหรือองค์กรอิสระไม่อาจปฏิบัติตามหน้าที่หรืออ านาจได้ ก่อนด าเนินการ
                       ตาม (7) ให้จัดให้มีการออกเสียงประชามติตามกฎหมายว่าด้วยการออกเสียงประชามติ ถ้าผลการออก
                       เสียงประชามติเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม จึงให้ด าเนินการตาม (7) ต่อไป

                              (9) ก่อนนายกรัฐมนตรีน าความกราบบังคมทูลเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยตาม (7)

                       สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกทั้งสองสภารวมกัน มีจ านวนไม่น้อยกว่า 1 ใน
                       10 ของสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา หรือของทั้งสองสภารวมกัน แล้วแต่กรณี มีสิทธิเข้าชื่อกัน
                       เสนอความเห็นต่อประธานแห่งสภาที่ตนเป็นสมาชิกหรือประธานรัฐสภา แล้วแต่กรณี ว่าร่างรัฐธรรมนูญ

                       ตาม (7) ขัดต่อมาตรา 255 หรือมีลักษณะตาม (8) และให้ประธานแห่งสภาที่ได้รับเรื่องดังกล่าวส่ง
                       ความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญ และให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่

                       ได้รับเรื่อง ในระหว่างการพิจารณาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีจะน าร่างรัฐธรรมนูญแก้ไข
                       เพิ่มเติมดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยมิได้”

                       จากมาตรา 256 สามารถอธิบายความสัมพันธ์เชิงอ านาจที่วุฒิสภาเป็นฝ่ายครอบง าได้ว่า วุฒิสภามีอ านาจ
               3 จังหวะส าคัญในการยับยั้งพลังการเมืองที่ต้องการผลักดันการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เพราะการแก้ไขเพิ่มเติม

               รัฐธรรมนูญไม่ว่าจะเสนอโดยคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร หรือประชาชน เมื่อต้องการผลักดันร่างแก้ไข
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224