Page 41 - 22813_Fulltext
P. 41
35
4. เป้าหมายความเข้าใจ (Why I Goal) (เข้าใจว่า ท าไมฉันคิด รู้สึกหรือท าบางสิ่ง) เป็นกล่าวถึงความ
ส านึกผิดท าให้เรารู้สึกไม่ดีมาจากสมมติฐานที่จ ากัด ที่ไม่จริง ทุกคนไม่รู้ว่า ท าไมถึงรู้สึกเช่นนั้น ต้องใช้ Why I
Goal ในการจัดการกับความรู้สึกผิด เช่น ค าถาม คือ อะไรท าให้คุณรู้สึกผิดตลอดเวลา ค าตอบ คือ ฉันรู้สึกว่า ฉัน
ไม่ดีเท่ากับน้องชาย ไม่ว่าท าอะไรก็ยังไม่ดี กรณีนี้ต้องการความเข้าใจไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงความรู้สึก
5. เป้าหมายสมมติฐาน (Assumption Goal) เพื่อเข้าใจสิ่งที่จ ากัดสมมติฐานของเรา เป็นเป้าหมาย
สมมติฐาน ใช้ค าถาม ถามไปเรื่อย ๆ เช่นเดียวกับเป้าหมายอื่นเพื่อให้มีสมมติฐานที่ถูกต้อง เช่น เขาไม่สวย โง่ น่า
เกลียด ใช้ค าถามจนกระทั่งหาค าตอบได้ด้วยตนเอง
6. ส ารวจเป้าหมายหัวข้อใหม่ (New Topic Goal) คิดเกี่ยวกับหัวข้อที่แตกต่างจากค าถามแบบที่ 1
7. เป้าหมายกิจกรรม (Activity Goal) เพื่อการท างาน การเขียน การซ้อม
8. เป้าหมายข้อมูล (Information Goal) เป็นการค้นหาข้อเท็จจริงในระหว่างช่วงเวลาสนทนา
(Session)
ในส่วนของเป้าหมายที่ 6-8 มีจุดร่วมกัน คือ คุณต้องตั้งใจใส่ใจกับคนที่ชอบใช้ความคิด (Thinker) และ
ใช้การตั้งค าถามที่แหลมคม เน้นที่การสนับสนุนให้เขาคิดและตัดสินใจด้วยตนเอง
ไคลน์เน้นว่า การฟังเป็นการจุดไฟในตัวคน คุณต้องฟังอย่าจด ให้ความสนใจต่อคนที่ชอบใช้ความคิด ถ้า
คุณจดเขาจะไม่สนใจคุณ เขาจะสงสัยว่า คุณจดอะไร นอกจากเขาอยากให้คุณจดคุณถึงจด ในช่วงท้ายคุณต้องให้
คนที่ชอบคิด จดด้วยตนเอง จดค าถามที่แหลมคม และคุณคอยถามว่า มีค าถามอะไรที่อยากบันทึกอีก จากนั้น คุณ
ค่อยกลับไปทบทวน หลังจากช่วงนี้แล้วเป็นช่วงท้ายที่เป็นการกล่าวชื่นชม ไม่ใช่การกล่าวขอบคุณ แต่ใช้หลักการ
ชื่นชมแบบ 3s ต่อพวกชอบใช้ความคิดแล้วเขาจะกล่าวชื่นชมคุณกลับมา คุณกล่าวขอบคุณไม่ต้องตั้งค าถามอะไร
เพราะเป็นสิ่งที่เขาคิดเป็นการให้ของขวัญต่อคุณ
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบ 10 ประการสู่การคิดที่ดีกับเครื่องมือต่าง ๆ คือ
1. การฝึกสอน (Coaching) บางคนคิดว่า ตนเองเป็นผู้เชี่ยวชาญ รู้ทุกสิ่ง เป็นดังสถาปนิกที่เก่งกาจ การ
ฝึกสอนควรใช้องค์ประกอบ 10 ประการสู่การคิดที่ดี ตั้งค าถามที่แหลมคมที่เรียบง่าย ไม่สลับซับซ้อน เช่น คุณ
ก าลังคิดอะไรอยู่ คุณรู้สึกอย่างไรหรือต้องการจะบอกอะไร เราต้องไม่เป็นผู้รู้และไม่เป็นผู้ควบคุม ตัวอย่างของการ
ฝึกสอนกับผู้ถูกฝึกสอน วิธีการพูด สิ่งที่ต้องบอกประกอบด้วยการให้ผู้ถูกฝึกสอน คิดด้วยตนเอง บทบาทของคุณ
ไม่ได้คิดให้ แต่จะใช้วิธีการให้เขาคิดออกมาด้วยตัวคุณเอง โดยจะท าให้สมมติฐานที่ขัดขวางอยู่เปลี่ยนไปเพราะทุก
คนเชื่อในตัวของคนที่ชอบใช้ความคิด
2. การเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) ไคลน์ยกตัวอย่างความไม่พอใจจากคนที่ถูกสอนงาน (Mentee) มีการ
ไล่คนสอนงาน (Mentor) ออกไป เนื่องจากคนที่ถูกสอนงานเห็นว่า การฟังค าแนะน าจากคนสอนงานเท่านั้นไม่ใช่
สิ่งที่ต้องการ กระบวนการการเป็นพี่เลี้ยงที่ดี แบ่งเป็น 4 ช่วง คือ ช่วงแรก เป็นการฟัง การใส่ใจคนที่ถูกสอนงาน
ช่วงที่สอง เป็นช่วงที่คนที่ถูกสอนงานถามค าถามต่อคนสอนงาน ซึ่งจะตอบโดยกระชับ เฉพาะที่ถูกถาม ช่วงที่สาม
คนที่ถูกสอนงานให้คนสอนงานได้ใช้การคิดที่ดี (Thinking Environment) ช่วงที่สี่ เป็นการชื่นชมซึ่งกันและกัน
ความเท่าเทียมในกระบวนการเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring Process) เป็นสิ่งส าคัญ แม้ว่าจะอายุห่างกัน แต่ก็คิด
ร่วมกัน ออกแบบร่วมกัน ท าให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร
3. สานเสวนา Dialogue) ก็เช่นเดียวกันใช้หลักความเท่าเทียม การฟัง การใส่ใจในคนอื่น