Page 40 - 22813_Fulltext
P. 40

34



                        ประการแรก การสนทนาเป็นคู่ (In Pairs)

                        ในชีวิตประจ าวันทุกคนสนใจคนอื่นเพียงใด เธอพูดฉันฟัง ฉันพูดเธอฟัง แบบนี้หรือไม่ แต่ทุกคนมักจะท า
               ตรงข้าม เธอพูด ฉันขัดเธอ ฉันพูด เธอขัดฉัน ไม่ทันได้พูดจบประโยค ทุกคนต้องถามตัวเองว่า ฉันต้องการรู้ว่า คนนี้
               คิดอะไร และฉันรู้ว่า จะต้องช่วยพวกเขาคิดอย่างไรด้วยตนเองให้ดีที่สุด ทุกคนต้องใส่ใจ สนใจว่าเขาคิดอะไร ฟังว่า

               เขาจะพูดอะไรต่อ
                        ล าดับและรูปแบบของการน าเสนอของหนังสือส่วนนี้ได้ยกตัวอย่างจากบทสนทนาเหมือนในส่วนแรก
               เช่น การยกตัวอย่างระหว่างดอนกับลูซี เพื่อนร่วมงานนิตยสาร ซึ่งมีการปรึกษากันสามครั้งต่อสัปดาห์ โดยผลัดกัน
               ให้อีกฝ่ายคิดแบบการคิดที่ดี (Thinking Environment) อีกฝ่ายฟังคนละ 10 นาที ลูซีติดเรื่องความคิดเก่า คิดไม่

               ออก ดอนฟังตั้งค าถามไปเรื่อย ๆ สุดท้ายลูซีพูดออกมาจนได้ความคิดเองว่า จะถ่ายรูปธรรมชาติในคอสตาริกา
               และลูซีจะเขียนเรื่องราวบอกเล่ารูปภาพเกี่ยวกับสัมพันธภาพแห่งชีวิต (Life in Relationship) จะเห็นได้ว่า ดอน
               เพียงนั่งฟังและถามค าถาม เช่น คุณคิดยังไงเกี่ยวกับเรื่องนี้ (What are your thoughts?) และมีอะไรที่คุณ
               อยากจะพูดอีก (What more do you think?) เป็นการถามอย่างตั้งใจฟัง ไม่ขัดจังหวะ ท าให้ได้ความคิดมาจากลู

               ซี่เอง การถามแบบนี้ไคลน์เรียกว่า ถามแบบส่วนแรก (Part 1) ท าให้ได้ค าตอบ เป็นการถามแบบทั่ว ๆ ไป ยังไม่
               ถามเจาะจงลงลึก แต่ถ้ายังไม่สามารถได้ค าตอบจากผู้ถูกถาม ยังเกิดความเงียบ ให้ใช้ค าถามแบบส่วนที่สอง (Part
               2) ตัวอย่างค าถาม เช่น
                        อะไรที่คุณต้องการประสบความส าเร็จในช่วงเวลานี้ (What more do you want to achieve from

               this session?)
                        ค าตอบมีอยู่มากมาย อาจแบ่งค าตอบ/ของเป้าหมายเป็น 8 ประเภท คือ
                        1. เป้าหมายการกระท า (Action Goal) (ตัดสินใจ วางแผน ค้นหา เรียบเรียง การคงไว้) ไคลน์ได้

               ยกตัวอย่างของไบรอัน ซึ่งรู้ว่า มีการคอร์รัปชันในองค์กร เขาไม่สามารถเก็บเงียบไว้ได้ต้องรายงานต่อ
               คณะกรรมการ แต่ก็ลังเลในการเปิดเผยเรื่องนี้ ในช่วงของการใช้ค าถามแบบส่วนแรก เขาไม่พูด ชอนจึงใช้ค าถาม
               แบบส่วนที่สอง ชอนถามค าถามว่า อะไรที่ขัดขวางคุณจากการท าสิ่งที่ถูกต้อง ค าตอบของไบรอัน คือ การถูกไล่
               ออกและเหมือนเป็นการทรยศต่อเจ้านายและเพื่อนร่วมงาน ชอนจึงถามต่อเนื่องว่า มันเป็นการทรยศจริงหรือไม่
               การรายงานเรื่องนี้เป็นสิ่งที่ถูกต้องหรือไม่ และคุณจะท าอะไรต่อในอนาคตหากได้รับผลกระทบ ไบรอันได้ตอบว่า

               ไม่ได้เป็นการทรยศ แต่เป็นความซื่อสัตย์ ชอนใช้ค าถามเพื่อลบสมมติฐานที่ผิดพลาด เพื่อน าไปสู่สมมติฐานที่
               ถูกต้อง เกณฑ์สามอย่าง คือ ข้อมูล (Information) ตรรกะ (Logic) และทางเลือกจิตวิทยาเชิงบวก (Positive
               Philosophical Choice) สุดท้ายไบรอันก็พร้อมที่จะยืนหยัดเรื่องการต้านการคอร์รัปชันในองค์กร

                        2. เป้าหมายความรู้สึก (Feeling Goal) รู้สึกบางอย่างหรือหยุดรู้สึกในทิศทางบางอย่าง เป็นการใช้
               ค าถามที่แหลมคมเพื่อจัดการกับสมมติฐานและน าไปสู่สมมติฐานที่ถูกต้อง อะไรที่จ ากัดฉันจากความรู้สึกดี
               สมมติฐานที่เราคิดถูกต้องไหม ถ้าไม่ถูก อะไรคือสิ่งที่ถูกต้อง จากความรู้สึกที่ไม่ดีมาสู่ความรู้สึกที่ดี
                        3. การเคลื่อนสิ่งที่ขัดขวางเป้าหมาย (Removing the Block Goal) (เพื่อค้นหาสมมติฐานและสร้าง

               ค าถามที่แหลมคม) สิ่งที่จ ากัดพลังงานของเขา เช่น การกล่าวว่า พวกผมบลอนด์ (Blonde Hair) ไม่มีสมอง ต้องท า
               ให้เปลี่ยนความคิด ด้วยค าถามที่แหลมคม เช่น ถ้าคุณมีสมองที่เฉียบคม คุณจะแสดงออกอย่างไรล่ะให้คนเห็นว่า
               คุณมีความคิด
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45