Page 26 - kpi22228
P. 26

18



                       ในยุคนั้น ไอเซนฮาวรไดใชวอลท ดีสนีย เปนองคกรที่ชวยผลิตสโลแกน หรือสื่อโฆษณาที่มีขอความ

               ที่งาย ๆ กินใจ ซึ่งเปนขอความสําคัญที่จะนํามาซึ่งชัยชนะได สโลแกนนั้นก็คือ You like Ike, I like Ike,
               everybody likes Ike” (คุณชอบไอก, ผมชอบไอก, ทุก ๆ คนชอบไอก - ไอก คือชื่อกลางของไอเซนฮาวร)

               เห็นไดวาจากสโลแกนสั้น ๆ นี้ ไมไดมีการบอกเลยวา ไอเซนฮาวรเปนใคร มาจากสังคมแบบไหน มีฐานะ

               อยางไร มีอาชีพอยางไร ไมมีนโยบายหรืออุดมการณทางการเมืองใด ๆ ดวยเหตุนี้ในระยะเวลาตอมาจึงไดมี
               คลิปโฆษณาหาเสียงของไอเซนฮาวรออกมา โดยนาย Roster Reeves ผูเปนคนคิดสโลแกนสําหรับขนม M&M

               เขาไดสรางสรรคคลิปโฆษณาใหกับไอเซนฮาวรภายใตชื่อวา “ไอเซนฮาวรตอบคําถามคนอเมริกัน” ซึ่งเปนคลิป

               โฆษณาที่มีความยาวประมาณ 3-4 นาที เปนลักษณะการโตตอบระหวางผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งกับผูสมัคร
               รับเลือกตั้งคือ ไอเซนฮาวร โดยมีการถามคําถามตาง ๆ  เชน คําถามที่เกี่ยวกับนโยบายตางประเทศภายหลัง

               สงคราม นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ ฯลฯ คลิปโฆษณาตาง ๆ เหลานั้นมีวัตถุประสงคเพื่อใหประชาชนเขาใจ

               วาไอเซนฮาวรคือคนของประชาชนที่คิดถึงและดูแลประชาชน (a man of the people who cares about
               the people)

















                  ภาพที่ 2.1 : ภาพ I Like Ike (View of an "I Like Ike" water decal from the presidential campaign, showing a close-up
                                  portrait of the popular war hero General Dwight D. Eisenhower, 1952)
                                  ที่มา : https://time.com/4471657/political-tv-ads-history/.


                       แนวคิดผลิตภัณฑ (product concept) Cwalina, Falkowski and Newman (2008), Hayes and

               Mcallister (1996), Holbrook (1996), Wattenberg (1991) (อางใน Cwalina, Falkowski, & Newman,

               2011: 18) กลาววา ในระยะเวลาตอมา เมื่อความผูกพันตัวเองกับพรรคการเมือง (partisanship) เริ่มเจือจางไป
               พรอม ๆ ไปกับความรูสึกเปนพรรคการเมือง (partisanship) ในสหรัฐอเมริกา และในหลาย ๆ แหงของโลก

               ประชาชนมักจะไมกลาววาตนเองมีทัศนคติและอุดมการณทางการเมืองแบบใดอีกตอไป การขายชื่อพรรค

               (party concept) จึงอาจจะลาสมัยไปแลวสําหรับการทําการตลาดของพรรคการเมือง กลายเปนที่มาของ
               การพัฒนาการใชการตลาดของการเมืองในรูปแบบของแนวคิดผลิตภัณฑ (product concept) ซึ่งมองถึง

               คุณภาพของผลิตภัณฑเปนปจจัยสําคัญในการทําการตลาดทางการเมือง เชน เฮนรี ฟอรด ผลิตรถยนตรุน

               Model T โดยมีแนวคิดเพียงประการเดียวคือ “การสรางรถยนตที่มีคุณภาพ” เชนเดียวกับในทางการเมืองคือ
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31