Page 21 - kpi22228
P. 21

13



                       ประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการทําความเขาใจคําจํากัดความของการตลาดทางการเมืองคือ เมื่อนําไป

               เปรียบเทียบกับการตลาดตามปกติวา มีความเหมือนหรือแตกตางกันหรือไม เพราะในการทําความเขาใจ
               โดยปกติแลวจะเห็นวา การนําหลักการทางการตลาดเขามาสูการเมืองอาจมีทั้งขอที่เหมือนกันและแตกตางกัน

               ความเหมือนกันเชนในเรื่องของแนวคิด ที่เกี่ยวกับผูบริโภค การแบงสวนทางการตลาด (market

               segmentation) สวนผสมทางการตลาด (marketing mix), ภาพลักษณ, ความภักดีตอเครื่องหมายการคา,
               แนวคิดของผลิตภัณฑ และจุดยืนตอผลิตภัณฑ รวมทั้งเครื่องมือทางการตลาด เชน การทําการวิจัยตลาด

               การสื่อสาร และการโฆษณา

                       นักวิชาการรุนบุกเบิก เชน Philip Kotler และ Sidney Levy (1969) มักจะบอกวา การทําการตลาด
               ทางการเมืองก็เหมือนการขายสบูและยาสีฟน การสรางการสนับสนุนใหกับผูสมัครรับเลือกตั้งก็เหมือน

               การตองการขายสบูใหกับผูบริโภคนั่นเอง ตัวอยางที่นาคิดและถกเถียงตอไปก็คือ “ผลิตภัณฑ” ทางการเมือง

               กับ “ผลิตภัณฑ” ทางการตลาดอาจจะมีความแตกตางกันหรือไม เพราะในทางการตลาดแลว เจาหนาที่
               ทางการตลาดจะทําการขายสินคาอุปโภคบริโภค เชน สบู หรือยาสีฟน เหลานี้เปนการทําการตลาดคือ

               ทําอยางไรจึงจะขายสินคาเหลานี้ใหกับผูบริโภคได ดวยเหตุนี้ นักวิชาการรุนใหม เชน Alex Marland (2003)

               ไมเห็นดวยกับการเปรียบเทียบการตลาดทางการเมืองเปนการขายสบูขางตน เพราะการตลาดทางการเมือง
               มีความเกี่ยวของกับประเด็นตาง ๆ อยางสลับซับซอน ไมไดเปนเพียงการ “ขายของ” อยางเดียว ผูลงสมัคร

               รับเลือกตั้งไมไดถูก “ขาย” แตพวกเขากําลังถูก “ทําการตลาด” ซึ่งแนวคิดนี้คลายกับแนวคิดของ Nicholas

               O’Shaughnessy (1987, 63) ที่กลาววา “การเมืองเกี่ยวของกับบุคคล ไมใชสิ่งของ” ดังนั้นนักการเมือง
               ควรจะตองถูกมองวาเขามาทํางานในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ประเภทเดียวกับหมอ หรือ นักกฎหมาย

               หรือเรียกอีกอยางหนึ่งก็คือ การตลาดทางการเมืองเกี่ยวของกับผูคนและความสัมพันธซึ่งกันและกัน ในขณะที่

               การตลาดโดยทั่วไปจะหมายถึงความสัมพันธระหวางคนกับผลิตภัณฑ ดังนั้น ความคิดหรือการกอรูปของ
               ความประทับใจที่ผูลงสมัครรับเลือกตั้งมีตอประชาชนหรือสังคมจะมีรูปแบบที่แตกตางไปจากการขายสินคา

               โดยทั่ว ๆ ไป (Cwalina, Falkowski, & Newman, 2011: 8)

                       คําจํากัดความขางตนมีความสําคัญกับการทําความเขาใจเรื่องการตลาดทางการเมือง โดยเฉพาะ
               อยางยิ่งในเรื่องของความแตกตางระหวาง “สินคา” และ “บุคคล” เพราะการตลาดทางการเมืองเปนการทํา

               การตลาดกับบุคคลที่มีอุดมการณ มีนโยบาย และมุงที่จะทํางานทางการเมืองเพื่อการเขาไปมีอํานาจทาง

               การเมือง ดังนั้นการตลาดทางการเมืองจึงเปนการทําการตลาดกับสิ่งที่มีความไมเปนกลางทางการเมือง
               ผูบริโภคในทางการเมือง หรือผูมีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งอาจจะตองการขอมูลจากสินคามากกวาการเลือก

               ซื้อสินคาหรือซื้อสบูสักหนึ่งกอน และผูที่ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งอาจจะไมไดการบริการหรือสินคาในทันทีที่มี

               การตกลงปลงใจเลือกตั้งใครสักคนหนึ่ง แตการจะไดสินคาหรือบริการหลังจากนั้นจะตองมีกระบวนการอื่น ๆ
               เชน ผูสมัครรับเลือกตั้งที่ผูมีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งไดเลือกขึ้นมาจะเปนตัวแทนในเขตนั้นหรือไม และ

               หากเปนตัวแทนแลว พรรคการเมืองที่ผูลงสมัครรับเลือกตั้งคนนั้นสังกัดจะไดเปนพรรครวมรัฐบาล

               และนํานโยบายหรือคํามั่นสัญญาที่ไดใหไวกับประชาชนไปทําใหเกิดขึ้นไดจริงหรือไม และในระบบรัฐสภานั้น
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26