Page 18 - kpi22228
P. 18

10



               2.3 นิยาม ความหมายของการตลาดการเมือง

                       Shama (1975, 793) กลาววา “การตลาดทางการเมืองคือกระบวนการที่ผูลงสมัครรับเลือกตั้ง
               และแนวคิด ไดนําไปใชกับผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งเพื่อใหผูเขาพึงพอใจกับความตองการทางการเมือง และ

               ไดรับการสนับสนุน” (Cwalina, Falkowski, & Newman, 2011: 16)

                       Jennifer Lees-Marshment (2012, 2) กลาววา การตลาดทางการเมืองคือ “วิธีการที่องคกรทางการ
               เมือง และนักการเมือง ผูนําทางการเมือง พรรคการเมือง รัฐบาล และองคกรพัฒนาเอกชนใชวิธีการทาง

               การตลาดและแนวความคิดเพื่อสรางความเขาใจและพัฒนาผลิตภัณฑและความเขาใจทางการเมือง

               เพื่อตอบสนองกับการตลาด และเกี่ยวของกับการสื่อสาร และการโตตอบกับตลาดทางการเมือง เพื่อการไดผล
               ตามที่ตองการ” (Lees-Marshment, 2012: 2)

                       Newman (1994) กลาววา การตลาดทางการเมือง คือ “แนวคิดของการแลกเปลี่ยน คือ ผูรับสมัคร

               รับเลือกตั้ง แลกสิ่งที่จะได เมื่อผูลงคะแนนเสียงไดลงคะแนนเสียงใหกับตนเองแลว นั่นก็คือ การบรรลุจุดหมาย
               ในการทําธุรกรรม” (Cwalina, Falkowski, & Newman, 2011: 16)

                       Dominic Wring (1997, 653) กลาววา การตลาดทางการเมือง คือ “การที่พรรคการเมือง หรือ

               ผูสมัครรับเลือกตั้งใชการวิจัยสํารวจความคิดเห็น (opinion research) และการวิเคราะหสภาพแวดลอมทาง
               การเมือง เพื่อผลิตหรือสนับสนุนการแขงขันที่จะใหองคกรบรรลุเปาหมาย และทําใหคนเลือกตั้งและ

               แลกเปลี่ยนโดยการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งให” (Cwalina, Falkowski, & Newman, 2011: 16)

                       Lilleker & Lees-Marshment กลาววา การตลาดทางการเมืองคือ “การศึกษาวานักการเมือง
               มีการโตตอบกับผูเลือกตั้งของตนเองอยางไร”

                       Baines, Brennan และ Egan (2003) พูดถึงการตลาดทางการเมืองวา คือ “การที่ (1) องคกรทาง

               การเมืองทําการสื่อสารขอความ ซึ่งอาจจะมีหรือไมมีเปาหมายก็ได และอาจเปนการสงขอความทั้งทางตรงและ
               ทางออมก็ได ตอผูสนับสนุนและผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง (2) เพื่อที่จะสรางหรือสงเสริมหรือพัฒนาความ

               เชื่อมั่นตอผูสนับสนุนและผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง ในการใชทรัพยากรตาง ๆ เพื่อระดมทุน และเพื่อพัฒนา

               โครงสรางการบริหารทั้งในระดับชาติและระดับทองถิ่น (3) มีการโตตอบและไดรับการตอบสนอง
               จากผูสนับสนุน ผูมีอิทธิพล คนในกระบวนการนิติบัญญัติ คูแขง และสาธารณะในการพัฒนาและการประยุกต

               นโยบายและกลยุทธ (4) โดยการนําไปสูผูที่มีสวนเกี่ยวของทั้งหมด ผานชองทางการสื่อสาร และระดับ

               ของขอมูล ความคิดเห็น และภาวะผูนําที่แตกตางหลากหลาย (5) ใหการฝกอบรม ทรัพยากรขอมูลขาวสาร
               และวัสดุอุปกรณที่ใชในการหาเสียงเลือกตั้งสําหรับผูมีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ตัวแทน นักการตลาด และ

               หรือกิจกรรมทองถิ่นของพรรค (6) ความพยายามที่จะมีอิทธิพลหรือสนับสนุนตอผูมีสิทธิลงคะแนนเสียง

               เลือกตั้ง  สื่อ และผูมีอิทธิพลสําคัญ เพื่อสนับสนุนผูลงสมัครรับเลือกตั้งของพรรค หรือไมใหพวกเขาไป
               สนับสนุนคูแขงทางการเมืองของตน” (Cwalina, Falkowski, & Newman, 2011: 16-17)
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23