Page 14 - kpi22228
P. 14

6





                                                         บทที่ 2

                                 พัฒนาการ แนวคิดและทฤษฎี วาดวยการตลาดการเมือง



                       ในบทนี้จะไดอธิบายถึงความทาทายในการแสวงหาความนิยมของพรรคการเมือง ทั้งจากมุมของ
               พรรคการเมืองในบริบทดั้งเดิม ตลอดจนความทาทายตาง ๆ จากนั้นจะไดตลอดจนนิยามพื้นฐาน ความหมาย

               ของการตลาดการเมือง พัฒนาการการใชการตลาดกับการแสวงหาความนิยมทางการเมือง แนวคิดดาน
               การตลาดในฐานะยุทธวิธีเพื่อการเอาชนะทางการเมือง ขอบขายของยุทธวิธีการตลาดการเมือง



                       แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการตลาดทางการเมือง เปนหัวขอวิจัยที่เปนที่สนใจในวงการศึกษาวิจัย

               ในเรื่องการพัฒนาพรรคการเมืองในชวงสองทศวรรษหลังนี้เนื่องจากสภาพการทํางานทางการเมือง

               ที่เปลี่ยนแปลงไปอันเปนผลจากพัฒนาการของสื่อเทคโนโลยีและการเขาถึงผูบริโภค และมีการนําแนวคิด

               ดานการตลาดมาใชกับการทํางานทางการเมืองมากขึ้น


                       ดังจะไดแสดงในรายละเอียดในบทนี้วา การตลาดการเมืองไมไดเปนเพียงการจัดการโฆษณา แตรวมไปถึง


               การสื่อสารทางการเมือง การหาเสียงเลือกตั้ง และมียุทธศาสตรที่มีหัวใจอยูที่ผูบริโภคทางการเมือง ซึ่งก็คือผูมี

               สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง ในฐานะผูขับเคลื่อนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของตลาด และการที่ผูมีสิทธิเลือกตั้งได

               ตัดสินใจบนพื้นฐานของความตองการของพวกเขาในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง (Busby, 2009: 13)



               2.1 ความทาทายของพรรคการเมือง
                      Mourice Duverger (1978) อธิบายวากอนป ค.ศ. 1850 อาจกลาวไดวาไมมีประเทศไหนรูจักพรรค

               การเมือง (political party) ในความหมายที่เราเขาใจในทุกวันนี้ ในยุคนั้นมีเพียงแตกลุมคนที่มีความเห็น

               ตรงกัน มีสมาชิกชมรม สมาคมทางปรัชญาและกลุมกอนในสภาผูแทนราษฎรเทานั้น แตยังไมมีสิ่งที่เรียกวา
               “พรรคการเมือง”แตในอีกศตวรรษถัดมาก็ไดมีพรรคการเมืองในแทบทุกประเทศอารยะ ซึ่งในดานหนึ่ง

               เนื่องมาจากพัฒนาการของประชาธิปไตย จึงทําใหเกิดการรวมตัวของกลุมบุคคลที่เขามาทําหนาที่รวมกัน

               ในสถาบันการเมืองอยางรัฐสภา และมีความตองการในการผลักดันประเด็นหรือวาระทางการเมืองรวมกัน
               ซึ่งเมื่อประชาชนมีความสามารถในการลงคะแนนเสียง ฐานการลงคะแนนเสียงกวางมากขึ้นเทาไหร

               ก็มีความตองการและความจําเปนที่จะจัดตั้งเพื่อทําใหผูสมัครจากพวกตัวเองไดรับความนิยมและไดรับเลือกตั้ง

               (Duverger 1978, xxiii-xxiv)
                      ผลจากการตั้งพรรคการเมืองทําใหการลงคะแนนเสียงขึ้นกับการใหความสําคัญของพรรคการเมืองใน

               การจัดตั้งพรรคการเมือง การจัดองคกรและโครงสราง ระบบสมาชิกที่เปนการคัดสรรคนและฐานเสียง

               นอกจากนี้ ในบางกรณี ความนิยมของพรรคการเมืองขึ้นกับผูนําการเมือง หรือภาวะผูนําของพรรคการเมือง
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19