Page 10 - kpi22228
P. 10

2



               พรรคการเมือง มีผลทําใหกติกา หรือบทบัญญัติที่เกิดขึ้นและสงผลตอโครงสรางทางการเมือง ผานไปยัง

               การเปลี่ยนแปลงของสถาบันการเมืองไทยอีกหลายสถาบัน ซึ่งยังไมนับถึงพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
               อีกหลายฉบับ ที่ใหบทบาทหนาที่กับองคกรอื่น ๆ มากขึ้น ซึ่งจะมีผลตอบทบาทของพรรคการเมือง

               ในการเมืองไทยใหมีความออนแอลง มีความโดดเดนนอยลง เนื่องจากตองผูกพันนโยบายของตนเอง

               ตามยุทธศาสตรชาติมากขึ้น


                       แตถึงกระนั้น ยังมีสิ่งที่นาสนใจประการหนึ่งที่ปรากฏขึ้นในการเลือกตั้งในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562
               เนื่องจากไดมีพรรคการเมืองจํานวนหนึ่งสามารถยึดกุมพื้นที่ทางการเมืองไดอยางนาสนใจโดยใชวิธีการตลาด

               การเมือง เชน พรรคพลังประชารัฐ พรรคเพื่อไทย และพรรคอนาคตใหม เปนตน ซึ่งทั้งพรรคการเมือง

               ที่สามารถสรางความแตกตางในการหาเสียงเลือกตั้งเหลานี้ ประสบความสําเร็จในการสื่อสารทางการเมือง
               จนมีแนวทางในการหาเสียงเลือกตั้งที่มีเอกลักษณ ผลก็คือ พรรคการเมืองหลายพรรคการเมืองสามารถ

               เอาชนะการเลือกตั้งไดคะแนนเสียงและจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนมากในสภาผูแทนราษฎร


                       สถาบันพระปกเกลา ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงในการสื่อสารของพรรคการเมืองเพื่อสราง

               ความนิยมทางการเมือง (การตลาดการเมือง) ในการเลือกตั้งครั้งลาสุดที่ผานมา จึงเปนที่มาของความจําเปน

               ในการศึกษาในเชิงลึกในเรื่องการสื่อสารและการตลาดการเมือง โดยรวบรวมขอมูลเชิงประจักษที่เปนการตลาด
               การเมือง พฤติกรรมในการหาเสียงเลือกตั้ง และแนวทางในการสื่อสารของพรรคการเมืองที่เกิดขึ้น

               ในการเลือกตั้งครั้งที่ผานมา อันจะนําไปสูการ วิเคราะห และสังเคราะหองคความรูที่สําคัญ ที่พรรคการเมือง

               และผูที่สนใจการเมืองตาง ๆ จะนําไปศึกษาและพัฒนา อันจะนําไปสูความสามารถในการวิเคราะห
               การเมืองไทย และการพัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยไดตอไป



               1.2 วัตถุประสงค

                      2.1 เพื่อวิเคราะหแนวทางการตลาดการเมืองไทยในการเลือกตั้งทั่วไปของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
               พ.ศ. 2562

                      2.2 เพื่อศึกษาและทําความเขาใจรูปแบบการการสื่อสารของพรรคการเมืองผานแนวคิดการตลาด

               การเมืองเพื่อการแสวงหาความนิยมทางการเมืองของพรรคการเมืองในการเลือกตั้งทั่วไปของสมาชิกสภาผูแทน
               ราษฎร พ.ศ. 2562

                      2.3 เพื่อแสวงหาตัวแบบในการวิเคราะหความสําเร็จของพรรคการเมืองในการสื่อสารในรูปการตลาด

               การเมืองของพรรคการเมืองเพื่อการแสวงหาความนิยมของพรรคการเมือง
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15