Page 7 - kpi22228
P. 7

ฉ



                                                          คํานํา



                       โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาการสื่อสารของพรรคการเมืองผานแนวคิดเรื่องการตลาดการเมือง
               (Political Marketing) เพื่อสรางความนิยมทางการเมืองไทย: กรณีศึกษาการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2562”

               เปนสวนหนึ่งที่ผูวิจัยเก็บความสนใจไวเมื่อครั้งรับผิดชอบในวิชาการตลาดการเมืองสําหรับนิสิตระดับ

               มหาบัณฑิต และตระหนักถึงความมีอยูจํากัดของงานวิชาการและองคความรูเกี่ยวกับการตลาดการเมือง
                       ในดานหนึ่ง องคความรูดานการตลาดการเมืองเปนสิ่งที่โลกตะวันตกในกลุมประชาธิปไตยเกาแกไดเริ่ม

               มานับรอยปแลว แตสําหรับประเทศประชาธิปไตยใหมแลว การใชแนวทางการตลาดการเมืองนับเปนเรื่องใหม

               ที่เพิ่งจะมีการวางแนวทางและใชวิเคราะห และใชในการรณรงคหาเสียงเพื่อชัยชนะในการเลือกตั้ง สวนในกรณี
               ของประเทศไทยนั้น แนวคิดเรื่องการตลาดการเมืองเริ่มอยางไมเปนทางการจากการที่ผูนําทางการเมืองมอง

               ผูสมัครในนามพรรคเปนผลิตภัณฑหนึ่ง มีการยกยองเชิดชูผูนําพรรคที่มีความโดดเดน มีประสบการณในทาง

               ราชการหรือในภาคเอกชน ประสบความสําเร็จในอาชีพการงานของตัวเองแลวเชิดชูเปนจุดขายหลัก ทั้งนี้ ยังตอง
               กลาววาปจจัยอื่น ๆ คือกฎหมายและกติกาทางการเมือง ความสัมพันธทางอํานาจ ความไมเทาเทียมกัน

               ในศักยภาพของพรรคตาง ๆ ทั้งในดานตัวบุคคลและทรัพยากรที่มีใชจายในการเลือกตั้ง และยังตองกลาวดวยวา

               ปจจัยหลักที่เคยเปนปจจัยชี้ขาดไดเปลี่ยนไป เนื่องจากกติกาที่กํากับการเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไป
                       แตเมื่อกติกาใหมถูกนํามาใช ระบบการเมืองมีการแขงขันในตลาดการเมืองมากขึ้น กลยุทธการตลาด

               การเมืองจึงกลายมาเปนเครื่องมือเพื่อใชทดแทนการทุจริตการเลือกตั้ง ผลก็คือมีการประยุกตใชแนวคิด

               การตลาดการเมืองมากขึ้นในการเมืองแบบเสรีประชาธิปไตย แตเมื่อการเมืองถดถอยสูยุคเผด็จการอํานาจนิยม
               ก็ทําใหปจจัยเดิม ๆ ที่เคยใชไดสัมฤทธิ์ผลถูกนํามาใช เชน การตั้งพรรคการเมืองที่แนบแนนกับระบบราชการ

               และชนชั้นนําที่ครองอํานาจ

                       รายงานวิจัยนี้มุงใหภาพดังกลาวและชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของการใชแนวคิดเรื่องการตลาดการเมือง
               ในการเมืองไทยมากขึ้นเรื่อย ๆ

                       ผูวิจัยหวังวารายงานวิจัยชิ้นนี้จะเปนประโยชนแกผูสนใจและรวมมีสวนสรางเสริมองคความรูดานการ

               พัฒนาการเมือง การสรางเสริมประชาธิปไตย การเลือกตั้ง พรรคการเมืองและการตลาดการเมือง
                       หากมีขอผิดพลาดประการใด ผูวิจัยขอนอมรับความผิดพลาดที่มี และหวังวาจะไดมีโอกาสวิจัยใน

               ประเด็นการตลาดการเมืองใหลึกซึ้งยิ่งขึ้น

                       ผูวิจัยขอขอบคุณสถาบันพระปกเกลาที่เชื่อมั่นในตัวผูวิจัย ขอขอบคุณคุณณัชชาภัทร อมรกุล ผูเปน
               นักวิจัยผูชวย และหวังวางานวิจัยนี้จะเปนประโยชนตอการทําความเขาใจพัฒนาการทั้งความลมเหลว และ

               ความสําเร็จของการใชแนวคิดการตลาดการเมือง


                                                                                       บัณฑิต จันทรโรจนกิจ

                                                                                            กรกฎาคม 2564
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12