Page 99 - kpi21588
P. 99

ร่างรายงาน บทบาทของพลเมืองในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเลือกตั้งที่ไม่สุจริตเที่ยงธรรม เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาธิปไตยไทย   7-7



                               - เฝ้าคูหา หัวคะแนนที่ด าเนินการในการซื้อสิทธิขายเสียงจะนั่งอยู่หน้าคูหาเพื่อส ารวจดูการเดินทาง

                       มาลงคะแนนเสียงและผู้ที่รับเงินเดินไปแล้ว เปรียบเป็นการตรวจเช็คข้อตกลงระหว่างผู้ซื้อกับผู้ชาย ประชาชน
                       ที่รับเงินจะเห็นหัวคะแนนที่อาจมานั่งรถหรือแม้แต่ท าหน้าที่ในหน่วยเลือกตั้ง ประเด็นนี้ไม่ใช่แค่กดดันผู้รับเงิน

                       เท่านั้น แต่หัวคะแนนมีความกดดันจากผลการเลือกตั้ง เพราะการเอาเงินนักการเมืองมาจัดสรรในพื้นที่ต้องมี

                       การสร้างหลักประกันจ านวนคนตามสัดส่วนของเงิน ดังนั้นก็เกิดกรณีที่หัวคะแนนหนีหลังเลือกตั้งเพราะไม่
                       สามารถท าจ านวนได้ตามที่ตกลงกันกับนักการเมือง ในช่วงเช้าให้ 200 ตอนเที่ยงยังไม่ตรงตามเป้าให้ 300 บาท

                       และก่อนปิดหีบจะให้หัวละ 800 เพราะต้องท าให้จ านวนผู้มาลงคะแนนได้ตามเป้าที่ก าหนดตัวเลขกับ
                       นักการเมือง


                               การซื้อสิทธิขายเสียงยังคงปรากฏในพื้นที่ โดยกระจายตัวอยู่ในกลุ่มเครือญาติ กลุ่มสตรีแม่บ้านยัง
                       เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ส าคัญของกลุ่มหัวคะแนนและนักการเมือง เพราะผู้หญิงเป็นคนพูดง่ายและมีปฏิสัมพันธ์ดี

                       หากแต่การตัดสินใจลงคะแนนเสียงให้ผู้สมัคร/พรรคการเมืองใดไม่ได้ขึ้นอยู่กับการซื้อสิทธิขายเสียงเพียงอย่า
                       เดียว นโยบายถือเป็นสิ่งส าคัญต่อการพิจารณาตัดสินใจเลือกของผู้คน อย่างไรก็ตาม แม้การซื้อสิทธิขายเสียงจะ

                       ไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของคนในชุมชน แต่การซื้อสิทธิขายเสียงจะยังคงอยู่ไม่หายไปตามกาลเวลา “...ซื้อ

                       เสียงไม่มีวันหายไปจากโลก เหมือนยาเสพติด อยู่ที่จิตส านึกของคน...” ประเด็นที่น่าสนใจคือ เคยมีการ
                       พยายามส่งหัวคะแนนจัดตั้งจากภายนอกเข้ามาแต่ไม่ได้ผลเท่ากับการมีหัวคะแนนเป็นคนในชุมชน โดยเฉพาะ

                       การเป็นผู้น าชุมชนในระดับหมู่บ้าน

                               ประเภทของหัวคะแนนในพื้นที่ชุมชนหลักๆ ที่ปรากฎในการเลือกตั้งคือ


                               - ผู้น าชุมชน หัวคะแนนคือ กลุ่มผู้น า ซึ่งเป็นกุญแจส าคัญของการชนะการเลือกตั้ง ถ้าหัวคะแนนเก่ง
                       คุมคะแนนเสียงได้จะมีผลต่อการชนะการเลือกตั้ง ผู้น ามีสองประเภทคือ ผู้น าที่เป็นทางการได้แก่ ก านัน

                       ผู้ใหญ่บ้าน รวมไปถึงสมาชิกสภาจังหวัด และผู้น ากลุ่มประธานชุมชน ประธานแม่บ้านซึ่งมีอ านาจเป็นต้นทุน
                       หัวคะแนนอื่นไม่สามารถมีบทบาทได้เท่ากับผู้น าชุมชน ดังนั้นผู้น าชุมชนคือ หัวคะแนนหลักของพรรคการเมือง

                       ในทางกลับกันหากมีการเลือกตั้งท้องถิ่น ส.ส.ก็จะเป็นหัวคะแนนให้กับท้องถิ่น

                               - อาสาสมัครสาธารณะสุขประจ าหมู่บ้าน (อสม.)


                               อสม. กลายเป็นกลุ่มหัวคะแนนอีกกลุ่มที่มีอ านาจในทางการเมืองในพื้นที่ คบทบาทของ อสม. แม้จะ
                       เป็นเรื่องสาธารณะสุขและสุขภาพอนามัยของคนในชุมชนแต่การก่อตัวของปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อสม.กับชุมชนมี

                       ความเหนียวแน่นผ่านเส้นทางที่ต่างออกไปจากเส้นทางทางการปกครองเหมือนที่ผ่านมา อสม.เปรียบเสมือน
                       พนักงานของรัฐมากกว่าการเป็นเจ้าหน้าที่รัฐ เป็นคนในชุมชน เข้าถึงบ้านทุกหลัง ดูแลช่วยเหลือสุขภาพของ

                       สมาชิกในชุมชนท าให้ อสม.กลายเป็นกลุ่มคนที่ได้รับความไว้ใจจนสร้างประโยชน์ต่อการเมืองในช่วงการ

                       เลือกตั้งได้ โดยเฉพาะในการเลือกตั้งวันที่ 24 มีนาคม 2563 ที่ผ่านมา บทบาทของ อสม.ถูกน ามาใช้เป็น
                       บทบาทของหัวคะแนนทั้งการสนับสนุนในเชิงนโยบายแก่พรรคการเมืองและรัฐบาล กับบทบาทในการซื้อสิทธิ

                       ขายเสียง “...แม่หนูเป็นประธาน อสม. เค้าบอกให้เอาบัตรหาเสียงไปแจก แล้วจะให้เงินหัวละ 500 บาท แต่เงิน
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104