Page 228 - kpi21365
P. 228

บริหาร จัดการข้อมูลสารสนเทศต่างๆ อย่างบูรณาการ ช่วยให้ผู้บริหารมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ

                     ได้อย่างแม่นยําและตอบสนองความต้องการของประชาชนและทุกภาคส่วน

                                 2.1.7 องค์ประกอบสิทธิมนุษยชนและความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งจาก
                     ผลการวิจัยพบว่าระดับด าเนินงานอยู่ในระดับสูงนั้น เป็นผลมาจากการที่หน่วยงานภาครัฐในปัจจุบันได้มี

                     การก าหนดแนวทาง/วิธีการที่ชัดเจนในการปรับวัฒนธรรมหน่วยงานและทัศนคติบุคลากรในหน่วยงาน

                     ให้เคารพและยึดมั่นในหลักประชาธิปไตย และได้มีการก าหนดหลักในการพิจารณาโทษทางวินัยของ
                     บุคลากรและแนวทางการด าเนินคดีทั้งทางอาญาและแพ่งของหน่วยงานให้มีความสอดคล้องกัน โดยได้มี

                     การพัฒนาและปรับปรุงวิธีการและกลไกในการรวบรวม และพิสูจน์พยานหลักฐานเพื่อพิจารณาโทษทาง

                     วินัยของบุคลากรในหน่วยงานที่มีความเป็นธรรมและเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งผลให้หน่วยงาน
                     ภาครัฐมีระดับการด าเนินงานในองค์ประกอบสิทธิมนุษยชนและความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม

                     อยู่ในระดับสูง ทั้งนี้ ผลกำรวิจัยดังกล่ำวสอดคล้องกับผลกำรวิจัยของ เมวิกา ใจหาย (2553) ที่ได้วิจัย

                     เรื่องการประเมินผลการด าเนินงานตามแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลในเขต อ าเภอพยัคฆ
                     ภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม โดยผลการวิจัยพบว่า องค์การบริหารส่วนต าบลในเขตอ าเภอพยัคฆภูมิ

                     พิสัย จังหวัดมหาสารคาม ได้มีการด าเนินงานตามแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลด้านความ

                     เสมอภาคและความเป็นธรรมในสังคมในระดับมาก
                               ตัวอย่ำงเช่น ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 กระทรวงยุติธรรมยังคงด ำเนินกำรตำมภำรกิจ
                     ส ำคัญอย่ำงต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรให้บริกำรประชำชนให้สำมำรถเข้ำถึงงำนบริกำรของ

                     กระทรวงยุติธรรมได้อย่ำงทั่วถึง โดยกำรขับเคลื่อนผ่ำนโครงกำรและกิจกรรมต่ำงๆ อำทิ โครงกำร
                     ยุติธรรมเคลื่อนที่ โครงกำรแก้ไขปัญหำในพื้นที่จังหวัด โครงกำรโรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์ โครงกำรสำย
                     ด่วนยุติธรรม 1111 กด 77 เป็นต้น

                               2.1.8 องค์ประกอบขนาดขององค์กรและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ซึ่งแม้ว่าจาก
                     ผลการวิจัยจะพบว่ามีระดับด าเนินงานอยู่ในระดับสูง แต่การที่องค์ประกอบด้านนี้มีระดับการด าเนินงาน

                     อยู่ในล าดับสุดท้ายนั้น ย่อมแสดงให้เห็นว่าหน่วยงานภาครัฐในปัจจุบันยังคงขาดการด าเนินงานตาม

                     ยุทธศาสตร์ฯ ในองค์ประกอบดังกล่าว ซึ่งแม้ว่าในปัจจุบันนี้ หน่วยงานภาครัฐจะได้มีการด าเนินการโดย
                     การมีระบบก ากับติดตามประเมินผลการน านโยบายไปปฏิบัติตามมาตรฐานที่หน่วยงานก าหนด รวมถึง

                     ได้มีการเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการด าเนินการบริการสาธารณะและกิจกรรม

                     สาธารณะของหน่วยอย่างเหมาะสม แต่หน่วยงานภาครัฐก็ยังคงไม่ได้มีการกระจายอ านาจเพื่อเพิ่มอิสระ
                     ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดบริการสาธารณะมากเท่าที่ควร  และยังขาดการส่งเสริม

                     บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็งอย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงขาดการสนับสนุนให้

                     ภาคส่วนอื่น ๆ มีการพัฒนารูปแบบการบริการสาธารณะแบบประชารัฐที่ชัดเจน ส่งผลให้ด าเนินงานตาม
                     ยุทธศาสตร์ฯ ในองค์ประกอบขนาดขององค์กรและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนนี้ มีระดับการ

                     ด าเนินงานอยู่ในล าดับสุดท้าย ทั้งนี้ ผลการวิจัยดังกล่าวสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ปิยากร หวังมหา


                      โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :                209
                      ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233