Page 233 - kpi21365
P. 233
ท้องถิ่นเสียใหม่ โดยการยุบรวมจังหวัด (ซึ่งเป็น “หน่วยราชการส่วนภูมิภาค”) และองค์การบริหารส่วน
จังหวัด เข้าด้วยกัน และจัดการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษขึ้นให้มีพื้นที่ครอบคลุมทั้งจังหวัด หรือที่
เรียกกันว่า “จังหวัดปกครองตนเอง” เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เงินงบประมาณของรัฐ ลด
ความซ้ าซ้อนในเชิงโครงสร้างระหว่าง “ภูมิภาค” และ “ท้องถิ่น” ในระดับจังหวัด และให้ชุมชนท้องถิ่น
สามารถบริหารจัดการเมืองและชุมชนชนบทในพื้นที่จังหวัดหนึ่งๆ ให้ด ารงอยู่ร่วมกันได้อย่างสมดุลและ
ยั่งยืน
2.ด้านการบูรณาการการท างาน รูปแบบของกำรบูรณำกำรกำรปฏิบัติงำนร่วมกันของ
หน่วยงำน ภำครัฐในพื้นที่จังหวัด ควรเริ่มต้นจำกกำรวิเครำะห์ ระบุสภำพปัญหำประเด็นกำรพัฒนำหรือ
กำรแก้ไขปัญหำที่ต้องอำศัยกำรบูรณำกำรจะมีผลต่อกำรก ำหนดภำคส่วนหรือผู้ที่มีบทบำทหลักใน
กำรบูรณำกำร จำกนั้น เป็นขั้นตอนกำรเชื่อมโยงแผนงำนที่จัดท ำภำยใต้กลไกห่วงโซ่คุณค่ำแบบ
เบ็ดเสร็จ (Total Value Chain) รวมทั้งกำรด ำ เนินกำรที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดบทบำทอ ำนำจหน้ำที่และ
ควำมสัมพันธ์ที่เป็นทำงกำรและที่ไม่เป็นทำงกำรระหว่ำงตัวแสดงของรัฐระดับต่ำง ๆ และภำคส่วน อื่นที่
เกื้อหนุนต่อกำรท ำงำนร่วมกัน เพื่อให้ได้รูปแบบควำมสัมพันธ์ที่เหมำะสมกับกำรด ำเนินกำร ให้ส ำเร็จ
และเป็นไปตำมเป้ำหมำยกำรพัฒนำ ตลอดจนกำรประเมินผลโดยภำคส่วนต่ำง ๆ ผ่ำนกลไก เช่น
ห้องปฏิบัติกำรนวัตกรรมภำครัฐ (Government Lab) ฯลฯ
3. ด้านการพัฒนาบุคลากร ซึ่งส ำนักงำน ก.พ. ด ำเนินกำรอยู่ เช่น กำรวำงแนวทำงกำรพัฒนำ
บุคลำกรภำครัฐระยะยำวที่สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี รวมถึงแผนต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดย
ได้ก ำหนดให้ระยะ 5 ปีแรกของกำรพัฒนำ เป็นระยะของกำรสร้ำงรำกฐำนของกำรวำงระบบกำรพัฒนำ
บุคลำกรภำครัฐและส่งเสริมให้บุคลำกรภำครัฐสำมำรถปรับตัวและมีควำมพร้อมในทุกมิติที่จะท ำงำนใน
บริบทของกำรพัฒนำประเทศไปสู่กำรเป็นประเทศไทย 4.0 และดิจิทัลไทยแลนด์ โดยมุ่งพัฒนำจุดเน้น 4
ประกำร คือ 1) กำรปรับเปลี่ยนภำครัฐเป็นรัฐบำลดิจิทัล (Digital Government Transformation) 2)
กำรส่งเสริมกำรท ำงำนที่สอดคล้องเชื่อมโยงเป็นบูรณำกำรและกำรสร้ำงจิตส ำนึกควำมรับผิดชอบ
(Create Alignment and Accountability) 3) กำรส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมและกำรคิดสร้ำงสรรค์
(Driving Innovation) และ 4) กำรสร้ำงพันธมิตรและกำรส่งเสริมกำรท ำงำนแบบประชำรัฐ (Create
Partnership and Relationship) นับว่ำเป็นแนวทำงที่ดี นอกจำกนั้นคณะผู้วิจัยยังมีข้อเสนอแนะ
เพิ่มเติม คือ กำรพัฒนำบุคลำกรภำครัฐเพื่อสร้ำงสรรค์ นวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation)
เป็นกำรคิดริเริ่มนโยบำย กฎหมำย และกฎใหม่ๆ ให้ทันสมัย เหมำะสมและทันต่อสถำนกำรณ์ และให้มี
ควำมเชื่อมโยงกับยุทธศำสตร์ของประเทศ ให้มำกขึ้น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรสร้ำงนวัตกรรมเชิงนโยบำย
ในระดับท้องถิ่น เนื่องจำกเมื่อพิจำรณำกำรพัฒนำภำครัฐส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นให้บุคลำกรพัฒนำนวัตกรรม
กำรให้บริกำรและนวัตกรรมกำรบริหำรองค์กร เช่น กำรคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) และกำร
วำงแผนเชิงอนำคต (Foresight Analysis) โดยกำรสร้ำงนโยบำยแบบเปิด (Open Policy) ที่เปิด
โอกำสให้ผู้ก ำหนดนโยบำยท ำงำนร่วมกันระหว่ำงกระทรวง ตลอดจนกำรมีส่วนร่วมกับผู้เชี่ยวชำญทั้ง
ภำครัฐ ภำคเอกชน และประชำชน ด้วยกำรท ำงำนร่วมกันอย่ำงใกล้ชิดผ่ำนกำรใช้เครื่องมือและเทคนิค
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ : 214
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ