Page 232 - kpi21365
P. 232
ปรับเปลี่ยนรูปแบบกำรท ำงำน (Agile / LEAN) เพื่อยกระดับประสิทธิภำพกำรท ำงำน กำรออกแบบกำร
ให้บริกำร กำรด ำเนินโครงกำรที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้ำงพื้นฐำน และเทคโนโลยีสำรสนเทศรวมถึงท ำให้
เกิดควำมสอดคล้องกับนโยบำยดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม นอกจำกนั้นควรส่งเสริมกำรเข้ำอบรม
เพื่อพัฒนำประสิทธิภำพกำรบริกำร เช่น โครงกำรอบรมหลักสูตรกำรพัฒนำบริกำรภำครัฐแบบครบ
วงจร (One Stop Service) เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทำงกำรพัฒนำศูนย์กลำงบริกำรภำครัฐส ำหรับ
ประชำชน (Government access Channels) ผ่ำน 3 ช่องทำงบริกำร คือ ศูนย์รวมบริกำรภำครัฐใน
รูปแบบเว็บไซต์ (GovChannel) ศูนย์รวมบริกำรภำครัฐในรูปแบบโมบำยแอปพลิเคชัน (Government
Application Center) และช่องทำงกำรเข้ำถึงข้อมูลและบริกำรของรัฐผ่ำนตู้บริกำรเอนกประสงค์ของ
รัฐ (Governement Smart Kiosk) เพื่อเป็นกำรอ ำนวยควำมสะดวกและลดควำมเหลื่อมล้ ำในกำรเข้ำ
รับบริกำรจำกภำครัฐ รวมถึงขยำยขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันแก่ภำคธุรกิจ และสร้ำงระบบบริหำร
จัดกำรภำครัฐที่มีประสิทธิภำพ
ระยะยาว
1. ด้านการกระจายอ านาจ คณะผู้วิจัยเห็นด้วยกับรายงานการศึกษาวิจัยเพื่อติดตาม
และประเมินผลการกระจายอ านาจเสนอต่อ ส านักงานคณะกรรมการการกระจายอ านาจ โดย คณะ
รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สยามรัฐออนไลน์, 2563) ที่เสนอแนวทางการกระจายอ านาจไว้ด้ง
นี้
1) ปรับปรุงแนวคิดในการถ่ายโอนภารกิจสู่ท้องถิ่นเสียใหม่ โดยก าหนดให้ท้องถิ่น
ขนาดเล็ก(เทศบาลต าบลและ อบต.ขนาดเล็ก) มีหน้าที่จัดบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานเพียงไม่กี่ประเภท
เท่าที่ท้องถิ่นขนาดเล็กเหล่านี้จะสามารถด าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น และให้ถ่ายโอน
ภารกิจ “ขนาดใหญ่” ให้องค์ปกครองส่วนท้องถิ่นระดับบน (อบจ.) และเทศบาลขนาดใหญ่ (เทศบาล
นครและเทศบาลเมือง) เป็นผู้ด าเนินการหรือแก้ไขปัญหาให้ประชาชนแทน และจะต้องสนับสนุนให้
ท้องถิ่นระดับต่างๆ ท างานร่วมกันอย่างเข้มข้นมากขึ้นในการดูแลประชาชนต่อไป 2) น ามาตรการเชิง
บังคับและก ากับดูแล ก าหนดบทลงโทษ และมาตรการจูงใจที่จ าเป็นมาใช้ในการบริหารระบบนโยบาย
การกระจายอ านาจ เพื่อให้รัฐและส่วนราชการต่างๆ เร่งถ่ายโอนภารกิจ บุคลากร และงบประมาณให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และจัดให้มีมาตรการกระตุ้นหรือจูงใจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรับ
ภารกิจถ่ายโอนต่างๆ ไปด าเนินการอย่างจริงจัง โดยเฉพาะกลุ่มภารกิจที่จะต้องด าเนินการตามกฎหมาย
3) ทบทวนและยกเลิกมาตรการควบคุมท้องถิ่นที่ “ไม่จ าเป็น” เช่น มาตรการจ ากัดรายจ่ายบุคลากรที่ไม่
เกินร้อยละ 40 ตามกฎหมายการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น หรือการดูแลควบคุมท้องถิ่นตาม
กฎหมายอื่นๆ ตลอดจนถึงการยกเลิกแนวทางการตีความเกี่ยวกับอ านาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นที่ขัดหรือแย้งต่อหลักความเป็นอิสระขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามเจตนารมณ์ของ
รัฐธรรมนูญ และ พระราชบัญญัติ ก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจฯ เป็นต้น 4) ยกระดับ
ประสิทธิภาพและขีดความสามารถในการบริหารจัดการเมืองและชุมชนชนบทขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ซึ่งสามารถด าเนินการได้โดยการปรับโครงสร้างการปกครองส่วนภูมิภาคและการปกครอง
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ : 213
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ