Page 230 - kpi21365
P. 230
รัฐบาลและส่วนราชการจะต้องเข้าไปร่วมรับผิดชอบต่อความล้มเหลวของการถ่ายโอนภารกิจแต่อย่างใด
วิธีการดังกล่าวท าให้กระบวนการกระจายอ านาจขับเคลื่อนไม่ได้เต็มที่เท่าที่ควรวิธีการกระจายอ านาจที่
ผิดพลาดอีกประการหนึ่งก็คือการใช้กุศโลบายให้มีการถ่ายโอนภารกิจและทรัพยากรจากส่วนราชการไป
ยังท้องถิ่นตามความสมัครใจ (Voluntary Basis) ทั้งนี้ก็เพื่อลดแรงต่อต้านทางการเมืองในช่วงที่ผ่านมา
แต่อย่างไรก็ดี เมื่อการกระจายอ านาจไม่มีการบังคับ ไม่มีการผลักดัน ไม่มีการลงโทษ และไม่มีแรงจูงใจ
ให้มีการถ่ายโอนภารกิจและทรัพยากรจากรัฐบาลสู่ชุมชนท้องถิ่น การกระจายอ านาจจึงไม่ประสบ
ผลส าเร็จมากเท่าที่ควร และประชาชนในหลายพื้นที่ก็มิได้รับการดูแลปัญหาหรือคุณภาพชีวิตอย่างเต็มที่
เนื่องจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขาดอ านาจด าเนินการและมิได้รับการถ่ายโอนภารกิจและ
ทรัพยากรให้อย่างเพียงพอตามบทบัญญัติของกฎหมาย
ข้อเสนอแนะ
3.1 ข้อเสนอแนะที่ได้รับจากผลการวิจัย
ระยะสั้น
1. จากผลการวิจัยซึ่งพบว่า องค์ประกอบด้านโครงสร้างและการมีส่วนร่วมมี
ระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์เป็นล าดับสุดท้าย
1.1 ด้ำนโครงสร้ำง หน่วยงำนภำครัฐที่เกี่ยวข้องควรมีกำรปรับบทบำทภำรกิจภำครัฐ
ให้ภำคส่วนอื่นมำรับด ำเนินกำรมำกขึ้นและต้องมีกำรปรับรูปแบบเน้นกำรท ำงำนในลักษณะของ
เครือข่ำย โครงสร้ำงองค์กรและขนำดก ำลังคนให้มีควำมเหมำะสม (Right-sizing) โดยส่งเสริมให้ส่วน
รำชกำรน ำ Digital Technology มำใช้ในกำรปฏิบัติงำน พร้อมกับกำรทบทวนบทบำทภำรกิจของส่วน
รำชกำรคู่ขนำนกันเพื่อให้โครงสร้ำงส่วนรำชกำรมีควำมกะทัดรัดคล่องตัว (Agile) และมีอัตรำก ำลังมี
ขนำดที่เหมำะสม (Right-sizing) กำรพัฒนำระบบกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลที่สอดคล้องและเชื่อมโยง
กับกำรปรับโครงสร้ำงกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน แนวทำงด ำเนินกำรบริหำรบุคลำกรเพื่อรองรับกำร
ปรับโครงสร้ำงองค์กรของส่วนรำชกำร อำทิ มำตรกำรจูงใจข้ำรำชกำรที่ดีและเก่ง ระบบ Secondment
กล่ำวคือ กำรให้บุคลำกรของหน่วยงำนได้มีโอกำสเปลี่ยนจำกกำรปฏิบัติงำนที่ท ำอยู่ประจ ำไปปฏิบัติงำน
ที่หน่วยงำนอื่นเป็นกำรชั่วครำว ซึ่งรวมถึงกำรปฏิบัติงำนภำยในหน่วยงำนและภำยนอกหน่วยงำน โดยมี
จุดประสงค์เพื่อให้บุคลำกรได้มีโอกำสเรียนรู้งำนใหม่ๆเพิ่มขึ้น และพัฒนำควำมก้ำวหน้ำในสำยอำชีพ
ของตน และยกระดับรูปแบบกำรบริหำรบุคคลผ่ำนกำรด ำเนินกำรรูปแบบ Sandbox โดยกำรพัฒนำ
และกำรรังสรรค์นวัตกรรมในรูปแบบใหม่ ภำยใต้กำรปฏิรูประบบรำชกำรไทย กำรให้อิสระและควำม
คล่องตัวในกำรบริหำร โดยกำรยกเว้นกฎระเบียบของทำงรำชกำร แต่ต้องมีภำระรับผิดชอบต่อผลงำน
ซึ่งเป็นกำรลดกำรควบคุม (Relaxing Control) ที่ปัจจัยน ำเข้ำ (Input) และกระบวนกำร (Process)
เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดจำกกำรเพิ่มผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) รวมถึงมีกำรสำนพลัง
ควำมร่วมมือของภำคส่วนต่ำง ๆ ตำมแนวทำงประชำรัฐ ซึ่งนับว่ำเป็นกำรลดมำตรฐำน ตำยตัว
(Standardization) ของระบบรำชกำรลงและเพิ่มควำมยืดหยุ่นคล่องตัว (Flexibility) ให้มำกขึ้น เพื่อ
แก้ไขปัญหำที่มีควำมสลับซับซ้อน และเชื่อมโยงหลำยมิติรวมทั้งยำกที่จะแก้ไขได้ส ำเร็จโดยเร็วภำยใต้
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ : 211
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ