Page 225 - kpi21365
P. 225
เกิดผลกระทบต่อการรักษาความมั่นคงของ ประเทศ ความมั่นคงและปลอดภัยในการใช้งานระบบ
สารสนเทศ รวมถึงการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
2.1.3 องค์ประกอบความทันสมัยในการปฏิบัติงาน ซึ่งจากผลการวิจัยพบว่าระดับ
ด าเนินงานอยู่ในระดับสูงที่สุดนั้น เป็นผลการมาจากการที่หน่วยงานภาครัฐมีการน านวัตกรรมและ
เทคโนโลยีมาใช้ในการด าเนินงานเพื่อพัฒนาให้เป็นภาครัฐทันสมัย โดยในปัจจุบันส่วนใหญ่ได้มีการ
จัดท าระบบเครือข่ายเพื่อเชื่อมโยงการท างานและข้อมูลทั้งภายใน และระหว่างหน่วยงาน ซึ่งมีบทบาท
ส าคัญในการช่วยให้หน่วยงานสามารถท าการตัดสินใจในเชิงนโยบายบนพื้นฐานของข้อมูลผลการ
ปฏิบัติงานที่ผ่านมาได้ ส่งผลให้องค์ประกอบความทันสมัยในการปฏิบัติงานมีระดับด าเนินงานอยู่ใน
ระดับสูงที่สุด ทั้งนี้ ผลการวิจัยดังกล่าวสอดคล้องกับรายงานผลการด าเนินงานยุทธศาสตร์ชาติและการ
ปฏิรูปประเทศ โดยกระทรวงมหาดไทย (2561) ซึ่งผลการด าเนินงานในองค์ประกอบความทันสมัยใน
การปฏิบัติงานพบว่า ได้มีการจัดหาระบบและอุปกรณ์การออกหนังสือผ่านแดนด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
และติดตั้งระบบโปรแกรมประยุกต์ส าหรับบูรณาการข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐ
ตัวอย่ำงกำรด ำเนินกำรในด้ำนควำมทันสมัยในกำรปฏิบัติงำนภำครัฐ เช่น คณะรัฐมนตรี
รัฐบำลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชำ (พ.ศ. 2557-ปัจจุบัน) มีมติเห็นชอบข้อเสนอในกำรปรับปรุงกำรออก
เอกสำรหลักฐำนของทำงรำชกำรผ่ำนระบบดิจิทัล และแนวปฏิบัติในกำรรับ – ส่งหนังสือรำชกำรทำง
อิเล็กทรอนิกส์ระหว่ำงส่วนรำชกำรที่เป็นนิติบุคคลตำมมติคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร (ก.พ.ร.)
ในกำรประชุมครั้งที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 29 มกรำคม 2563
หรืออีกตัวอย่ำงหนึ่งเช่น กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีภำยใต้โครงกำร
ห้องปฏิบัติกำรนวัตกรรมภำครัฐ (Government Innovation Lab : Gov Lab) ซึ่งประกอบไปด้วย
ข้ำรำชกำรจำกกระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงสำธำรณสุขได้ร่วมกันพัฒนำและ
ออกแบบรูปแบบกำรปรับปรุงกำรให้บริกำรของภำครัฐ โดยยึดประชำชนเป็นศูนย์กลำงตำมแนวคิด
ระบบรำชกำร 4.0 ซึ่งจะเน้นกระบวนกำรคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) อันเป็นหัวใจของ Gov
Lab เพื่อพัฒนำ กำรปฏิบัติงำนให้มีประสิทธิภำพและตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชน
2.1.4 องค์ประกอบความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ ซึ่งจากผลการวิจัย
พบว่าระดับด าเนินงานอยู่ในระดับสูงนั้น เป็นผลการมาจากการที่ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐส่วนใหญ่ได้มี
การก าหนดหน่วยงานมีแนวทาง/กลไกสร้างจิตส านึกและค่านิยมต่อต้านการทุจริตให้แก่บุคลากรอย่าง
ต่อเนื่องและเป็นระบบ โดยมีการจัดกิจกรรม และน ากระบวนการต่าง ๆ มาใช้เพื่อพัฒนาค่านิยมของ
บุคลากรภายในหน่วยงานในการเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์ เห็นแก่ประโยชน์
ส่วนรวม ซึ่งช่วยให้เกิดการส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรในหน่วยงานภาคัฐส่วนใหญ่ให้
ปราศจากพฤติกรรมทุจริต ควบคู่ไปกับการปรับปรุงกระบวนการปราบปรามทุจริตภายในหน่วยงาน
ภาครัฐที่มีรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ซึ่งช่วยให้เกิดประสิทธิภาพการด าเนินงานปราบปรามการทุจริต
ภายในหน่วยงานภาครัฐที่เพิ่มขึ้น และมีความเป็นรูปธรรมมากขึ้น จึงส่งผลให้องค์ประกอบความโปร่งใส
ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบมีระดับด าเนินงานอยู่ในระดับสูง ทั้งนี้ ผลการวิจัยดังกล่าว
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ : 206
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ