Page 222 - kpi21365
P. 222

1.6.10 ประเด็นสภำพปัญหำ อุปสรรคด้ำนกำรทุจริตประพฤติมิชอบ  ควรเร่งรัดกำร

                     ด ำเนินกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตและประพฤติมิชอบโดยยกระดับดัชนีกำรรับรู้กำรทุจริต
                     ( Corruption Perception Index ) ให้มีอันดับดีขึ้น ให้หน่วยงำนอันประกอบด้วย 1) ส ำนักงำน ป.ป.ช.

                     2) ส ำนักงำน ป.ป.ท. 3) คณะกรรมกำรร่วมภำคเอกชน 3 สถำบัน (กกร.) 4) สมำคมกำรจัดกำรธุรกิจ

                     ภำคเอกชนแห่งประเทศไทย (Thailand Management Association :   TMA) 5) ส ำนักงำน
                     คณะกรรมกำรนโยบำยวิทยำศำสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชำติ (สวทช.) 6) ส ำนักงำนพัฒนำ

                     ระบบดิจิทัล (สพธ.) 7) องค์กรต่อต้ำนคอร์รัปชั่น (ประเทศไทย) 8) ส ำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำร
                     พลเรือน (ก.พ.) 9) คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแหง่ชำติ 10) สภำทนำยควำม  11) กรมบัญชีกลำง 12)

                     ส ำนักงำนงบประมำณ 13) ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรเลือกตั้ง 14) สมำพันธ์นิสิตนักศึกษำ 15)

                     องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 16) สมำคมผู้สื่อข่ำวแห่งประเทศไทย บูรณำกำรด ำเนินกำรขับเคลื่อนให้
                     ภำครัฐโปร่งใส สังคมไทยปลอดกำรทุจริตและกำรประพฤติมิชอบตำมหลักกำรที่องค์กรเพื่อควำม

                     โปร่งใสนำนำชำติ (TI) ก ำหนดประเด็นกำรประเมินตำมเกณฑ์มำตรฐำนนำนำชำติด้วยดัชนีกำรรับรู้กำร
                     ทุจริต (Corruption Perception Index : CPI)

                            1.6.11  ประเด็นสภำพปัญหำ อุปสรรคด้ำนกำรลดควำมเหลื่อมล้ ำ ส่งเสริมให้ประชำชนมีส่วน

                     ร่วมในกำรจัดท ำและเสนอร่ำงกฎหมำย รวมทั้งสำมำรถเข้ำถึงตัวบทกฎหมำยต่ำง ๆ ได้โดยสะดวก และ
                     สำมำรถเข้ำใจกฎหมำยได้ง่ำยเพื่อให้ปฏิบัติตำมกฎหมำยได้ถูกต้อง อย่ำงเป็นรูปธรรม โดยเฉพำะ 1)

                     โครงกำรจัดท ำและเสนอร่ำงพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรเข้ำชื่อเสนอกฎหมำย พ.ศ. .... และ 2) จัดท ำ
                     ระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศและเครือข่ำยเชื่อมโยงในลักษณะระบบกลำง เร่งรัดให้มีกลไกและเพิ่ม

                     ศักยภำพในกำรเข้ำถึงกระบวนกำรยุติธรรมของประชำชนอย่ำงเป็นรูปธรรม เพื่อลดควำมเหลื่อมล้ ำใน

                     สังคมและภำครัฐในแง่ของกำรลดปริมำณคดีขึ้นสู่ศำลให้มีระบบกำรเข้ำถึงกระบวนกำรยุติธรรมอย่ำง
                     รวดเร็ว อำทิ  1) โครงกำรร่ำงพระรำชบัญญัติลดเวลำกำรด ำเนินงำนของกระบวนกำรยุติธรรม พ.ศ. ...

                     2) โครงกำรทนำยควำมอำสำ 3) โครงกำรกำรรับแจ้งควำมร้องทุกข์ทุกท้องที่ 4) โครงกำรศึกษำกำร
                     ยกเลิกหรือปรับปรุงรำงวัลน ำจับให้แก่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐในกฎหมำยต่ำง ๆ  เพื่อสร้ำงควำมเป็นธรรมและ

                     เป็นกำรป้องกันกำรทุจริตคอร์รัปชันอีกด้วย


                     2. อภิปรายผลการวิจัย

                             จากผลการวิจัยเรื่อง “การติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ : ยุทธศาสตร์

                     ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ” คณะผู้วิจัยพบว่ามีประเด็นซึ่ง
                     สามารถน ามาสู่การอภิปรายผลการวิจัยได้ ดังนี้

                             2.1 จากผลการวิจัยที่พบว่า ระดับการขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและ

                     พัฒนาระบบการบริหารจัดการสู่การปฏิบัติขององค์กรภาครัฐในประเทศไทย โดยรวมมีระดับการขับเคลื่อนสู่
                     การปฏิบัติอยู่ในระดับสูง ซึ่งเมื่อพิจารณาเป็นรายองค์ประกอบ พบว่า มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ใน



                      โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :                203
                      ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227