Page 220 - kpi21365
P. 220

และงบประมาณอย่างจริงจัง ซึ่งจ าเป็นจะต้องมีการการจัดสรรงบประมาณและบุคลากรให้เหมาะสม มี

                     การเตรียมบุคลากรให้พร้อมเพื่อน าไปสู่การใช้เทคโนโลยี และวางงบประมาณให้สอดคล้องต่อการ

                     ด าเนินงาน รวมถึงต้องพัฒนานักกลยุทธ์ที่มีทักษะการปรับแผนงานโครงการให้สอดคล้องกับนโยบาย

                     ของผู้บริหาร นอกจำกนั้นยังพบปัญหำด้ำนข้อจ ำกัดของบุคลำกรทำงด้ำนดิจิทัลในเรื่อง ควำมรู้ ทักษะ

                     กำรด ำเนินงำน ทัศนคติในกำรด ำเนินงำนดิจิทัล ท ำให้กำรน ำข้อมูลขนำดใหญ่ (Big Data) มำใช้  ไม่

                     สำมำรถรวบรวมข้อมูลได้ครบถ้วน บุคลำกรไม่สำมำรถวิเครำะห์ข้อมูลได้ถูกต้อง ข้อมูลยังมีควำม

                     น่ำเชื่อถือไม่เพียงพอ จึงยังไม่สำมำรถน ำผลกำรวิเครำะห์มำใช้ในกำรตัดสินใจเชิงนโยบำย หรือใช้ในกำร
                     แก้ปัญหำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ

                               1.6.2 ประเด็นสภาพปัญหาการขาดการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์ พบว่า มีข้อเสนอแนะ

                     และแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น โดยน าเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับ
                     ใช้ให้เหมาะสม ซึ่งควรจะมีหน่วยงานหลัก หรือหน่วยงานเจ้าภาพหลักในการสร้างแพลตฟอร์มเพื่อ

                     เชื่อมโยงข้อมูล

                               1.6.3 ประเด็นสภาพปัญหา อุปสรรคการขาดความต่อเนื่องในการพัฒนา โดยหน่วยงาน
                     ขาดความต่อเนื่องในการก าหนดนโยบาย และทิศทางการด าเนินงานของกรม เพื่อตอบสนองต่อการ

                     ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์นั้น พบว่า มีข้อเสนอแนะและแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับสภาพ

                     ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยภาครัฐควรจัดท าแผนงานพัฒนาบุคลากรผู้บริหารระดับสูง มีการปรับระบบ
                     เงินเดือน ค่าตอบแทน และแรงจูงใจ รวมถึงต้องมีการติดตาม ประเมินผล เเละทบทวนการด าเนินการ

                     อย่างสม่ าเสมอ

                               1.6.4 ประเด็นสภาพปัญหา อุปสรรคการบริหารจัดการองค์กรไม่เป็นระบบ พบว่า มี
                     ข้อเสนอแนะและแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น โดยควรมีการ

                     หมุนเวียนงานเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ไม่ยึดติดกับพื้นที่ และควรปรับรูปแบบการท างานให้

                     เป็นแบบล่างสู่บนมากขึ้น
                               1.6.5 ประเด็นสภาพปัญหา อุปสรรคการถ่ายโอนภารกิจในยังภาคเอกชนล่าช้า พบว่า มี

                     ข้อเสนอแนะและแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น โดยควรมีการ

                     ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารราชการไปสู่ระบบราชการใหม่
                                  1.6.6 ประเด็นสภำพปัญหำ อุปสรรคกำรมีส่วนร่วมของภำคส่วนต่ำงๆ ไม่ครอบคลุมทุก

                     กลุ่มเป้ำหมำย พบว่ำ มีข้อเสนอแนะและแนวทำงพัฒนำกำรปฏิบัติงำนที่สอดคล้องกับสภำพปัญหำที่
                     เกิดขึ้น โดยควรมีกำรปรับบทบำทภำรกิจภำครัฐให้ภำคส่วนอื่นมำรับด ำเนินกำรมำกขึ้น และต้องมีกำร

                     ปรับรูปแบบเน้นกำรท ำงำนในลักษณะของเครือข่ำย อีกทั้งมีกำรจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น
                     ของบุคลำกรเพื่อเป็นแนวทำงและน ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในกำรปฏิบัติงำน กำรให้ประชำชนมีส่วนร่วม

                     ในกำรให้บริกำรสำธำรณะที่เพิ่มขึ้น เช่น กำรเพิ่มกำรมีส่วนร่วมของประชำชนโดยหน่วยงำน เช่น


                      โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :                201
                      ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225