Page 205 - kpi21365
P. 205
Correlation Y2 Y3 Y4 Y5 Y6 Y7 Y8
Y8 - - - - - - 1.00
จากตารางที่ 4.15 พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของตัวแปรตามในการวิจัย
(Dependent Variable’s Correlation) ครั้งนี้ มีระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 ในทุก
องค์ประกอบของตัวแปรตามในการวิจัย ซึ่งน้อยกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ได้ก าหนดไว้ที่ระดับ .05 (Sig <
.05) โดยสามารถอธิบายได้ว่า องค์ประกอบของตัวแปรตามในการวิจัย (Dependent Variable’s
Correlation) ครั้งนี้ ทั้ง 8 องค์ประกอบมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
ระหว่าง .63-.79 (r = .63-79) ซึ่งเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณ
ชนิดไม่มีตัวแปรร่วม
4. ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติของ
องค์กรภาครัฐตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการขององค์กรภาครัฐในประเทศไทย
จากผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติขององค์กร
ภาครัฐตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการขององค์กรภาครัฐใน
ประเทศไทย โดยใช้การการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณแบบทางเดียวชนิดไม่มีตัวแปรร่วม (One-
way MANOVA) จ าแนกตามประเภทกลุ่มกระทรวง และสังกัดกระทรวง สามารถแสดงได้ดังตารางที่ 4.16-
4.19 ดังนี้
1) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติขององค์กรภาครัฐ
ตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการขององค์กรภาครัฐในประเทศ
ไทย จ าแนกตามประเภทกลุ่มกระทรวง สามารถแสดงได้ดังตารางที่ 4.16-4.17 ดังนี้
ตารางที่ 4.16 ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติขององค์กร
ภาครัฐตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการขององค์กรภาครัฐ
โดยรวมในประเทศไทย จ าแนกตามประเภทกลุ่มกระทรวง
Multivariate Test
Source Test Statistic Variable SS df MS F Sig.
กลุ่มกระทรวง Pillai's Trace Yรวม 741.79 2 370.90 1.33 .27
44856.28 180 278.61
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ : 186
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ