Page 201 - kpi21365
P. 201
77.34) ข้อค าถามที่ 1 (คิดเป็นร้อยละ 76.92) ข้อค าถามที่ 4 (คิดเป็นร้อยละ 75.55) ข้อค าถามที่ 5 (คิด
เป็นร้อยละ 75.41) และค าถามที่ 3 (คิดเป็นร้อยละ 72.53)
ทั้งนี้ จากผลการวิจัยดังกล่าวซึ่งพบว่า ข้อค าถามที่ 2 มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ใน
ระดับสูงมากเป็นล าดับแรก โดยมีร้อยละของการขับเคลื่อนฯ เท่ากับ 77.34ซึ่งผลการวิจัยดังกล่าวเป็น
ผลมาจากการที่หน่วยงานภาครัฐได้จัดให้หน่วยงานมีการก าหนดหลักในการพิจารณาโทษทางวินัยของ
บุคลากรและแนวทางการด าเนินคดีทั้งทางอาญา และแพ่งของหน่วยงานให้มีความสอดคล้องกัน จึง
ส่งผลให้ข้อค าถามที่ 2 มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับสูงมากที่สุดเป็นล าดับแรก อย่างไร
ก็ตามผลการวิจัยดังกล่าวยังพบว่า ข้อค าถามที่ 3 มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในล าดับสุดท้าย
โดยมีร้อยละของการขับเคลื่อนฯ เท่ากับ 72.53 ซึ่งผลการวิจัยดังกล่าวเป็นเพราะหน่วยงานภาครัฐยัง
ขาดการพัฒนาระบบการสืบเสาะและสอดส่องการทุจริตภายในหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพและไม่เป็น
การละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคลากร ซึ่งเป็นผลมาจากการที่หน่วยงานภาครัฐยังมีกฎหมายหลายฉบับ
ที่เป็นอุปสรรคต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ เนื่องจากประเทศไทยมีการตรากฎหมาย (Regulation)
เป็นจ านวนมาก และประชาชนถูกบังคับให้ต้องรู้กฎหมาย ซึ่งไม่สามารถปฏิเสธว่าไม่รู้กฎหมายได้
ในขณะที่กฎหมายหลายฉบับล้าสมัย ไม่เหมาะสมกับพัฒนาการของโลก รวมถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐมีการใช้
ช่องว่างของกฎหมายในการหาประโยชน์มิชอบบนความไม่รู้ข้อกฎหมาย ของประชาชน และโดยเฉาะ
อย่างยิ่งเรื่องระยะเวลาในการด าเนินคดีทางกฎหมายยังไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ การมีระยะเวลา
การด าเนินคดีที่ยาวนานก็ไม่ตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาเรื่องความเหลื่อมล้ าในกระบวนการยุติธรรมและ
สิทธิมายชนและความเสมอภาค ส่งผลให้ข้อค าถามที่ 3 มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในล าดับ
สุดท้าย
ผลกำรวิจัยเชิงปริมำณแม้ว่ำจะมีระดับกำรด ำเนินงำนในประเด็นนี้สูง ทว่ำผลกำรวิจัยเชิง
คุณภำพกลับยังพบปัญหำ ดังค ำกล่ำวที่ว่ำ
“...ยังมีกฎหมำยหลำยฉบับที่ยังไม่ได้รับกำรแก้ไข กฎหมำยหลำยฉบับเป็นอุปสรรคต่อกำร
ขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ชำติ เช่น รัฐควรกำรเตรียมแผนกำรทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำย
ที่ไม่เอื้อต่อกำรป้องกันกำรทุจริต เรื่องควำมเหลื่อมล้ ำ เพรำะ ระบบกฎหมำยไทยเป็นสำเหตุ
หนึ่งที่ท ำให้เกิดปัญหำคอร์รัปชันขึ้นในสังคม เนื่องจำกระบบ สังคมและวัฒนธรรม ระบบ
เศรษฐกิจ ระบบกำรเมือง และสิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์ในสังคมเปลี่ยนไปอย่ำงมำก ปัญหำที่
เกิดขึ้นในสมัยหนึ่งได้รับกำรแก้ไขไปได้ด้วยควำมเรียบร้อย ต่อมำปัญหำอื่นๆ ก็เกิดขึ้นตำมมำ
อีกอย่ำง ไม่มีที่สิ้นสุด เพียงแต่ในประเทศที่พัฒนำได้วำงระบบต่ำงๆ ของสังคมไว้ดี มีควำม
มั่นคง ทำงด้ำนสังคม เศรษฐกิจ และกำรเมือง ควำมยืดหยุ่นในกำรรองรับปัญหำที่เกิดขึ้นย่อมมี
มำกกว่ำ โดยมีประเด็นปัญหำหลักคือ 1) ประเทศไทยมีกำรตรำกฎหมำย (Regulation) เป็น
จ ำนวนมำกและประชำชนถูกบังคับให้ต้อง รู้กฎหมำย ไม่สำมำรถปฏิเสธได้ 2 ) กฎหมำยหลำย
ฉบับล้ำสมัย ไม่เหมำะสมกับพัฒนำกำรของโลก 3 ) เจ้ำหน้ำที่ของรัฐใช้ช่องว่ำงของกฎหมำยใน
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ : 182
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ